ลิเกฮูลูหรือดีเกฮูลู เป็นการละเล่นขึ้นบทเป็นเพลงประกอบดนตรีและจังหวะตบมือ มีรากฐานเดิมมาจากคำว่า ลิเก คือการอ่านทำนองเสนาะ และคำว่า ฮูลู ซึ่งหมายถึง ทิศใต้ ซึ่งเมื่อรวมความแล้วคือ การขับกลอนเป็นทำนองเสนาะจากทิศใต้ บทกลอนที่ใช้ขับเรียกว่า ปันตน หรือ ปาตง ในภาษามลายูถิ่นปัตตานี
ลักษณะการแสดง ลิเกฮูลูคณะหนึ่ง ๆ จะมีประมาณ 10 คน เป็นชายล้วน มีต้นเสียง 1-3 คน ที่เหลือจะเป็นลูกคู่ เวทีลิเกฮูลู จะยกพื้นสูงประมาณ 1 เมตร เปิดโล่งไม่มีม่าน ไม่มีฉาก ลูกคู่ขึ้นไปนั่งล้อมวงร้องรับและตบมือโยกตัวให้เข้ากับจังหวะดนตรี ส่วนผู้ร้องหรือผู้โต้กลอนจะลุกขึ้นยื่นข้าง ๆ วงลูกคู่ ถ้ากรณีมีการประชันกัน แต่ละคณะจะขึ้นนั่งบนเวทีด้วยกัน แต่ล้อมวงแยกกันพอสมควร การแสดงที่ผลัดกันร้องทีละรอบทั้งรุกและรับเป็นที่ครึกครื้นสบอารมณ์ของผู้ชม ลิเกฮูลู เริ่มต้นด้วยการแสดงด้วยดนตรีที่ใช้โหมโรงเป็นการเรียกผู้ชม ต่อจากนั้นนักร้องออกมาร้องเพลงในจังหวะต่าง ๆ ทีละคน เนื้อร้องกล่าวถึงความประสงค์ในการเล่น แล้วจึงเริ่มแสดง ซึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวของเหตุการณ์บ้านเมือง ปัญหาท้องถิ่นหรือเรื่องตลกโปกฮา ผู้แสดงจะต้องใช้คารมและปฏิภาณ ให้ทั้งความรู้และความบันเทิงแก่ผู้ชม
เครื่องดนตรีประกอบ เล่นลิเกฮูลู ประกอบด้วยรำมะนา อย่างน้อย ๒ ใบ ใช้ตีดำเนินจังหวะในการแสดง ฆ้องเป็นเครื่องกำกับจังหวะ ตีสม่ำเสมอประกอบการร้อง นอกจากนี้ยังมีเครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบและเป็นที่นิยมกันว่า ทำให้ครึกครื้น สนุกสนานไพเราะมากยิ่งขึ้น เช่น ขลุ่ย ลูกแซก แต่จังหวะที่ใช้เป็นประเพณีในการละเล่นคือ การตบมือ
"เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 16-18 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์ สวนน้ำ เทศบาลเมืองเบตง อ.เบตง จ.ยะลา ภายในงานมีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น การแสดงศิลปะการต่อสู้ของไทยมุสลิมแบบโบราณ การเดินแบบผ้าพื้นถิ่นภายใต้แนวคิด "ยะลา หลาก หลาย"การแสดงวงดนตรีเยาวชน การสาธิตและจำหน่ายช่างฝีมือพื้นบ้าน การสาธิตและจำหน่ายอาหารโบราณ หาทานยาก การจัดนิทรรศการภาพเขียน-ภาพถ่าย เรื่องราววิถีชีวิตชุมชน การเสวนา "วิถีวัฒนธรรมชาวฮากกา" การเสวนา "งานหัตถศิลป์ชายแดนใต้ " การเสวนา "จิบกาแฟ แชร์เรื่องราว เล่าประวัติศาสตร์อเบตง" การสาธิตและจำหน่ายกาแฟท้องถิ่น เป็นต้น
สาระ บันเทิง การท่องเที่ยว กิจกรรมทั่วไปเกี่ยวกับเรื่องรอบตัวเรา และเกล็ดเล็กเกล็ดน้อยของเมืองเบตง สถานที่ต่างๆที่เคยไปมา อาหารการกินของคนท้องถิ่น เผยแพร่เรื่องราวต่างๆในมุมมองของชีวิตผ่านสายตาของท่านผู้ชมทุกคน กับเรื่องราวต่างๆที่ได้ถ่ายทอดออกมาซึ่งอาจมีประโยชน์ด้านข่าวสารและเป็นประสบการณ์ความทรงจำของชีวิตเรา
วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2567
การแสดงลิเกฮูลู-โรงเรียนบ้านมาลา "เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง" Di...
ลิเกฮูลูหรือดีเกฮูลู เป็นการละเล่นขึ้นบทเป็นเพลงประกอบดนตรีและจังหวะตบมือ มีรากฐานเดิมมาจากคำว่า ลิเก คือการอ่านทำนองเสนาะ และคำว่า ฮูลู ซึ่งหมายถึง ทิศใต้ ซึ่งเมื่อรวมความแล้วคือ การขับกลอนเป็นทำนองเสนาะจากทิศใต้ บทกลอนที่ใช้ขับเรียกว่า ปันตน หรือ ปาตง ในภาษามลายูถิ่นปัตตานี
ลักษณะการแสดง ลิเกฮูลูคณะหนึ่ง ๆ จะมีประมาณ 10 คน เป็นชายล้วน มีต้นเสียง 1-3 คน ที่เหลือจะเป็นลูกคู่ เวทีลิเกฮูลู จะยกพื้นสูงประมาณ 1 เมตร เปิดโล่งไม่มีม่าน ไม่มีฉาก ลูกคู่ขึ้นไปนั่งล้อมวงร้องรับและตบมือโยกตัวให้เข้ากับจังหวะดนตรี ส่วนผู้ร้องหรือผู้โต้กลอนจะลุกขึ้นยื่นข้าง ๆ วงลูกคู่ ถ้ากรณีมีการประชันกัน แต่ละคณะจะขึ้นนั่งบนเวทีด้วยกัน แต่ล้อมวงแยกกันพอสมควร การแสดงที่ผลัดกันร้องทีละรอบทั้งรุกและรับเป็นที่ครึกครื้นสบอารมณ์ของผู้ชม ลิเกฮูลู เริ่มต้นด้วยการแสดงด้วยดนตรีที่ใช้โหมโรงเป็นการเรียกผู้ชม ต่อจากนั้นนักร้องออกมาร้องเพลงในจังหวะต่าง ๆ ทีละคน เนื้อร้องกล่าวถึงความประสงค์ในการเล่น แล้วจึงเริ่มแสดง ซึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวของเหตุการณ์บ้านเมือง ปัญหาท้องถิ่นหรือเรื่องตลกโปกฮา ผู้แสดงจะต้องใช้คารมและปฏิภาณ ให้ทั้งความรู้และความบันเทิงแก่ผู้ชม
เครื่องดนตรีประกอบ เล่นลิเกฮูลู ประกอบด้วยรำมะนา อย่างน้อย ๒ ใบ ใช้ตีดำเนินจังหวะในการแสดง ฆ้องเป็นเครื่องกำกับจังหวะ ตีสม่ำเสมอประกอบการร้อง นอกจากนี้ยังมีเครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบและเป็นที่นิยมกันว่า ทำให้ครึกครื้น สนุกสนานไพเราะมากยิ่งขึ้น เช่น ขลุ่ย ลูกแซก แต่จังหวะที่ใช้เป็นประเพณีในการละเล่นคือ การตบมือ
"เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 16-18 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์ สวนน้ำ เทศบาลเมืองเบตง อ.เบตง จ.ยะลา ภายในงานมีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น การแสดงศิลปะการต่อสู้ของไทยมุสลิมแบบโบราณ การเดินแบบผ้าพื้นถิ่นภายใต้แนวคิด "ยะลา หลาก หลาย"การแสดงวงดนตรีเยาวชน การสาธิตและจำหน่ายช่างฝีมือพื้นบ้าน การสาธิตและจำหน่ายอาหารโบราณ หาทานยาก การจัดนิทรรศการภาพเขียน-ภาพถ่าย เรื่องราววิถีชีวิตชุมชน การเสวนา "วิถีวัฒนธรรมชาวฮากกา" การเสวนา "งานหัตถศิลป์ชายแดนใต้ " การเสวนา "จิบกาแฟ แชร์เรื่องราว เล่าประวัติศาสตร์อเบตง" การสาธิตและจำหน่ายกาแฟท้องถิ่น เป็นต้น
วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2567
ลิเกฮูลู-คณะผอ.ยูนุห์ ตุยง"เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง"Festival co...
ลิเกฮูลูหรือดีเกฮูลู เป็นการละเล่นขึ้นบทเป็นเพลงประกอบดนตรีและจังหวะตบมือ มีรากฐานเดิมมาจากคำว่า ลิเก คือการอ่านทำนองเสนาะ และคำว่า ฮูลู ซึ่งหมายถึง ทิศใต้ ซึ่งเมื่อรวมความแล้วคือ การขับกลอนเป็นทำนองเสนาะจากทิศใต้ บทกลอนที่ใช้ขับเรียกว่า ปันตน หรือ ปาตง ในภาษามลายูถิ่นปัตตานี
ลักษณะการแสดง ลิเกฮูลูคณะหนึ่ง ๆ จะมีประมาณ 10 คน เป็นชายล้วน มีต้นเสียง 1-3 คน ที่เหลือจะเป็นลูกคู่ เวทีลิเกฮูลู จะยกพื้นสูงประมาณ 1 เมตร เปิดโล่งไม่มีม่าน ไม่มีฉาก ลูกคู่ขึ้นไปนั่งล้อมวงร้องรับและตบมือโยกตัวให้เข้ากับจังหวะดนตรี ส่วนผู้ร้องหรือผู้โต้กลอนจะลุกขึ้นยื่นข้าง ๆ วงลูกคู่ ถ้ากรณีมีการประชันกัน แต่ละคณะจะขึ้นนั่งบนเวทีด้วยกัน แต่ล้อมวงแยกกันพอสมควร การแสดงที่ผลัดกันร้องทีละรอบทั้งรุกและรับเป็นที่ครึกครื้นสบอารมณ์ของผู้ชม ลิเกฮูลู เริ่มต้นด้วยการแสดงด้วยดนตรีที่ใช้โหมโรงเป็นการเรียกผู้ชม ต่อจากนั้นนักร้องออกมาร้องเพลงในจังหวะต่าง ๆ ทีละคน เนื้อร้องกล่าวถึงความประสงค์ในการเล่น แล้วจึงเริ่มแสดง ซึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวของเหตุการณ์บ้านเมือง ปัญหาท้องถิ่นหรือเรื่องตลกโปกฮา ผู้แสดงจะต้องใช้คารมและปฏิภาณ ให้ทั้งความรู้และความบันเทิงแก่ผู้ชม
เครื่องดนตรีประกอบ เล่นลิเกฮูลู ประกอบด้วยรำมะนา อย่างน้อย ๒ ใบ ใช้ตีดำเนินจังหวะในการแสดง ฆ้องเป็นเครื่องกำกับจังหวะ ตีสม่ำเสมอประกอบการร้อง นอกจากนี้ยังมีเครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบและเป็นที่นิยมกันว่า ทำให้ครึกครื้น สนุกสนานไพเราะมากยิ่งขึ้น เช่น ขลุ่ย ลูกแซก แต่จังหวะที่ใช้เป็นประเพณีในการละเล่นคือ การตบมือ
"เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 16-18 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์ สวนน้ำ เทศบาลเมืองเบตง อ.เบตง จ.ยะลา ภายในงานมีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น การแสดงศิลปะการต่อสู้ของไทยมุสลิมแบบโบราณ การเดินแบบผ้าพื้นถิ่นภายใต้แนวคิด "ยะลา หลาก หลาย"การแสดงวงดนตรีเยาวชน การสาธิตและจำหน่ายช่างฝีมือพื้นบ้าน การสาธิตและจำหน่ายอาหารโบราณ หาทานยาก การจัดนิทรรศการภาพเขียน-ภาพถ่าย เรื่องราววิถีชีวิตชุมชน การเสวนา "วิถีวัฒนธรรมชาวฮากกา" การเสวนา "งานหัตถศิลป์ชายแดนใต้ " การเสวนา "จิบกาแฟ แชร์เรื่องราว เล่าประวัติศาสตร์อเบตง" การสาธิตและจำหน่ายกาแฟท้องถิ่น เป็นต้น
วันอังคารที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2567
"สิละ"หรือ"ซีละ" ศิลปะการต่อสู้ของไทยมุสลิมแบบโบราณ "Sila"is an ancient ...
สิละ หรือ ซีละ เป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวอย่างหนึ่งของไทยมุสลิม ทำนองเดียวกับคาราเต้ ยูโด กังฟู หรือมวยไทยมุสลิมภาคใต้เรียกว่าการต่อสู้แบบสิละอย่างหนึ่งว่า “ดีกา” หรือ “เบือดีกา” ในพื้นที่จังหวัดสตูล เรียกศิลปะการต่อสู้แบบนี้ ตามความเดิมว่า สิละ และบางพื้นที่เรียกว่า “กายอ” หรือ “กาหยง” ซึ่งเป็นประเภทของสิละที่ใช้ “กริช” ประกอบการร่ายรำ สิละเป็นการต่อสู้ด้วยมือเปล่าเน้นให้เห็นลีลาการเคลื่อนไหวที่สง่างามคำว่า “สิละ” บางครั้งเขียนหรือพูดเป็น “ชีละบางท่านบอกว่ารากศัพท์มาจาก “ศิละ” ภาษาสันสกฤต เพราะพื้นที่ที่ศิลปะสิละ อยู่บนดินแดนชวา มลายู และทางตอนใต้ของประเทศไทย อดีตเคยเป็นดินแดนอาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งมีวัฒนธรรมอินเดียเป็นแม่บทสำคัญ จึงมีคำสันสกฤตปรากฏอยู่มาก ความหมายเดิมของสิละหมายถึง การต่อสู้ด้วยน้ำใจนักกีฬา ผู้เรียนวิชานี้จึงต้องมีศิลปะ มีวินัย ที่จะนำกลยุทธ์ไปใช่ป้องกันตัว ไม่ใช่ไปทำร้ายผู้อื่นให้ได้รับความเดือดร้อน
จุดประสงค์ของสิละ มุ่งศิลปะการร่ายรำมากกว่าศิลปะการต่อสู้แบบสมจริง การต่อสู้แบบสิละมีมาตั้งแต่ ๔๐๐ ปีมาแล้ว โดยกำเนิดที่เกาะสุมาตรา ชื่อ มูฮันนุดดีนซัมซุดดิน และฮามินนุดดีน ประเภทสิละที่มีในภาคใต้มี ๓ ประเภท สิละยาโต๊ะ คือสิละอาศัยศิลปะการต่อสู้ เมื่อฝ่ายหนึ่งรุก อีกฝ่ายหนึ่งต้องรับ ถ้ารับไม่ได้ก็จะตกไป เรียกว่า ยาโต๊ะ (ตก) สิละราตรี (รำ) คือสิละที่ต่อกรด้วยชำนิชำนาญ ในจังหวะลีลาการร่ายรำ ส่วนมากใช้แสดงเฉพาะหน้าเจ้าเมืองหรือเจ้านายชั้นสูง สิละกายอ (กริช) คือสิละที่ใช้กริชในการร่ายรำไม่ใช่การต่อสู้หลอก ๆ การแต่งกาย มุ่งที่ความสวยงามเป็นประการสำคัญ เช่น มีผ้าโพกศีรษะ สวมเสื้อ หรือคอตั้ง นุ่งกางเกงขายาว มีผ้าโสร่ง เรียกว่า ผ้าซอเกต เครื่องดนตรี ประกอบด้วย กลองยาว ๑ ใบ กลองเล็ก ๑ ใบ ฆ้อง ๑ คู่ และปี่ยาว ๑ เลา ผู้แสดง สิละเป็นการละเล่นของผู้ชาย ก่อนนักสิละลงมือสู้ เริ่มด้วยการที่ทั้งคู่จะทำความเคารพซึ่งกันและกัน เรียกว่ายาบัดตางัน (จับมือ) จากนั้น จึงเริ่มวาดลวดลายตามศิลปะสิละ จะมีท่ากระทืบเท้าให้เกิดเสียง หรือเอาฝามือตบขาของตนเอง เป็นการข่มขวัญปรปักษ์ รำร่อน ไปรอบสังเวียน ก้าวเดินหน้าถอยหลัง ตามจังหวะดนตรี ประหนึ่งเป็นการลองเชิงคู่ต่อสู้ก่อน แล้วต่างหาทางพิชิตคู่ต่อสู้ โดยการหาจังหวะใช้ฝามือฟาดหรือใช้เท้าดันร่างกายฝ่ายตรงข้าม จังหวะการประชิดตัวนั้น เสมือนว่าจะห้ำหั่นกัน ชั่วฟ้าดินสลาย พร้อมกับจังหวะดนตรีโหมจังหวะกระชั้น พลอยให้คนดูระทึกใจ กระบวนชั้นเชิงสิละมีมากมายหลายท่า เช่น ท่าซังคะ ตั้งท่าป้องกัน สังคะดูวา ท่ายืนตรงพร้อมต่อสู้ สังคะตีฆา ท่ายกมือขึ้นป้องกัน คือ มือขวาปิดท้องน้อย แขนซ้ายยกเสมอบ่า สังคะอำปัด ท่าก้าวไปตั้งหลัก
"เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 16-18 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์ สวนน้ำ เทศบาลเมืองเบตง อ.เบตง จ.ยะลา ภายในงานมีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น การแสดงศิลปะการต่อสู้ของไทยมุสลิมแบบโบราณ การเดินแบบผ้าพื้นถิ่นภายใต้แนวคิด "ยะลา หลาก หลาย"การแสดงวงดนตรีเยาวชน การสาธิตและจำหน่ายช่างฝีมือพื้นบ้าน การสาธิตและจำหน่ายอาหารโบราณ หาทานยาก การจัดนิทรรศการภาพเขียน-ภาพถ่าย เรื่องราววิถีชีวิตชุมชน การเสวนา "วิถีวัฒนธรรมชาวฮากกา" การเสวนา "งานหัตถศิลป์ชายแดนใต้ " การเสวนา "จิบกาแฟ แชร์เรื่องราว เล่าประวัติศาสตร์อเบตง" การสาธิตและจำหน่ายกาแฟท้องถิ่น เป็นต้น
พิธีเปิด"เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง"Festival to revive the ancien...
พิธีเปิดเทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง ระหว่างวันที่ 16-18 ก.ค. 2567 ณ.ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนอัตลักษณ์ทางภาษา ประเพณี วัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดยะลา ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจแก่ประชาชนในพื้นที่และเกิดการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบสาน และส่งต่อคุณค่าของความหลากหลายทางวัฒนธรรมจากรุ่นสู่รุ่น พร้อมขับเคลื่อน Soft Power ในพื้นที่จังหวัดยะลา โดยเชื่อมโยงประเพณีวัฒนธรรมกับการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของพื้นที่จังหวัดยะลา นำไปสู่การยกระดับความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยวและนักลงทุน ก่อให้เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจ สร้างอาชีพและรายได้สู่ชุมชนอย่างยั่งยืน โดยมีนางสุนิสา อยู่หนูสิงห์ วัฒนธรรมจังหวัดยะลา นายอมร ชุมช่วย นายอำเภอเบตง นายสกุล เล็งลัคน์กุล นายกเทศมนตรีเมืองเบตง หัวหน้าส่วนราชการ นักท่องเที่ยวชาวไทยและมาเลเซียเข้าร่วม
นางศศิทอณร์ สุวรรณมณี หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงวัฒนธรรม เป็นประธานพิธีเปิดงาน"เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง" ได้กล่าวว่ารัฐบาลมีนโยบายการแก้ปัญหาและพัฒนาพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ในด้านการทำนุบำรุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม โดยได้ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมให้สถาบันทางสังคมร่วมปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดี รวมทั้งการทำนุบำรุงศาสนา การอนุรักษ์พื้นฟูศิลปวัฒนธรรมและการยอมรับประเพณีวัฒนธรรมที่ดีที่มีความหลากหลาย เพื่อให้จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีความปลอดภัย และมีความสันติสุขบนพื้นฐานของสังคมพหุวัฒนธรรม
วันจันทร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2567
เที่ยวเบตง"เส้นทางท่องเที่ยวบ่อน้ำร้อนเบตง 2024"Betong Hot Springs trave...
วันศุกร์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2567
เที่ยวเบตง"ตลาดกลางคืนบ่อน้ำร้อน" Hotspring Night Market 2024
อบจ.ยะลา ได้จัดงานงานตลาดกลางคืนบ่อน้ำร้อน Hotspring Night Market
ณ บริเวณบ้านบ่อน้ำร้อนเบตง หมู่ที่ 2 ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา ระหว่างวันที่ 12 – 13 กรกฎาคม 2567 พบกับกิจกรรม
- จำหน่ายสินค้า อาหาร เครื่องดื่ม ฯลฯ
- FUN LAND พื้นที่ให้ความสนุกแก่เด็กๆ
- ตกแต่งสถานที่ให้นักท่องเที่ยวถ่ายรูปเช็คอิน
- กิจกรรมนวดออนเซนเพื่อสุขภาพ
- กิจกรรม Musical so Happiness
- การแสดงวงดนตรีโฟล์คซอง
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว นับเป็นกิจกรรมที่สร้างรายได้หลักให้แก่ประเทศไทย และเป็นอุตสาหกรรมการบริการที่มีบทบาทสูงยิ่งต่อระบบเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดการหมุนเวียนและกระจายรายได้ไปสู่ภูมิภาครวมไปถึงท้องถิ่น จังหวัดยะลาเป็นจังหวัดใต้สุดของประเทศไทย ตามคำขวัญของจังหวัดคือ "ใต้สุดสยาม เมืองงามชายแดน" ถือเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีการท่องเที่ยวที่หลากหลาย โดยเฉพาะอำเภอเบตง มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรม ที่มีความหลากหลายทั้งในด้านขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิตของชาวไทยพุทธ ชาวไทยมุสลิม และชาวไทยเชื้อสายจีน ซึ่งผสมกลมกลืนอย่างลงตัว วิถีชีวิตของชุมชนพื้นบ้านที่โดดเด่น สื่อให้เห็นถึงการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าและศิลปะขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิปัญญาในแขนงต่างๆ จังหวัดยะลา ยังมีอะไรมากมายที่รอให้นักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาเที่ยวชมดินแดนใต้สุดแดนสยาม ณ ปลายด้ามขวานแห่งนี้
องค์การบริหารส่วนจังหวัดยะลาได้ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งขาวไทยและชาวต่างชาติ ให้เข้ามาเที่ยวและจับจ่ายใช้สอยในจังหวัดยะลาเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ และสร้างรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่จึงได้กำหนดจัดโครงการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยว กิจกรรม Hotspring Night Market เป็นรูปแบบตลาดนัดกลางคืนภายในแหล่งท่องเที่ยวบ่อน้ำร้อนเบตงโดยการจำหน่ายสินค้า อาหารและเครื่องดื่ม มีวงดนตรีโฟล์คซอง และจุดถ่ายรูปเช็คอิน เพื่อให้นักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยว และชมกิจกรรมภายในบ่อน้ำร้อนเบตงแห่งนี้ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)