วันพุธที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

การแข่งขันตำผลไม้ลีลา-เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง 2024 Betong Fruit and...


   เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง" ประจําปี 2567 และกิจกรรมสตรีทฟู้ดแอนด์อาร์ต วันที่ 26-30 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์เทศบาลเมืองเบตง สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดยะลาร่วมกับเทศบาลเมืองเบตง ได้ร่วมกันจัดขึ้น เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวในพื้นที่ รวมถึงประชาสัมพันธ์อาหารและผลไม้ และสินค้าของดีชายแดนใต้ พบกับกิจกรรมมากมายอาทิ
-การประกวดทุเรียน -การประกวดมังคุดในสายหมอก -Chef Table เมนูพิเศษจากทุเรียนเบตง -ตลาดนัดผลไม้และของดีเมืองเบตง -การแข่งขันกินผลไม้ -การแข่งขันตําผลไม้ลีลา -การแสดงจากศิลปินและการแสดงศิลปวัฒนธรรม -การแสดงวาดภาพ สตรีทอาร์ต -การแสดงบอลลูน เวลา 17.30-18.30 น. และ 20.30-21.30น. คืนวันที่ 26 กรกฎาคม 2567 พบกับ โดม ปกรณ์ ลัม คืนวันที่ 29 กรกฎาคม 2567 พบกับ อานัส คืนวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 พบกับ วงฟิน FIN Facebook รวบรวมภาพถ่ายเบตง : https://www.facebook.com/BetongOkayTravel/ Instagram : https://www.instagram.com/travelbetong/ TikTok : https://www.tiktok.com/@betongokaytravel?tab=Content&lang=th-TH&type=webapp Blogger : https://betongokaytravel.blogspot.com/ Google site : https://tourist-attraction-3330.business.site/?utm_source=gmb&utm_medium=referral

วันอาทิตย์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

เต้นบาสโลบ-สมาคมแต้จิ๋วเบตง เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง 2024 Betong Fru...


เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง" ประจําปี 2567 และกิจกรรมสตรีทฟู้ดแอนด์อาร์ต วันที่ 26-30 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์เทศบาลเมืองเบตง สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดยะลาร่วมกับเทศบาลเมืองเบตง ได้ร่วมกันจัดขึ้น เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวในพื้นที่ รวมถึงประชาสัมพันธ์อาหารและผลไม้ และสินค้าของดีชายแดนใต้ พบกับกิจกรรมมากมายอาทิ -การประกวดทุเรียน -การประกวดมังคุดในสายหมอก -Chef Table เมนูพิเศษจากทุเรียนเบตง -ตลาดนัดผลไม้และของดีเมืองเบตง -การแข่งขันกินผลไม้ -การแข่งขันตําผลไม้ลีลา -การแสดงจากศิลปินและการแสดงศิลปวัฒนธรรม -การแสดงวาดภาพ สตรีทอาร์ต -การแสดงบอลลูน เวลา 17.30-18.30 น. และ 20.30-21.30น. คืนวันที่ 26 กรกฎาคม 2567 พบกับ โดม ปกรณ์ ลัม คืนวันที่ 29 กรกฎาคม 2567 พบกับ อานัส คืนวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 พบกับ วงฟิน FIN

   

วันเสาร์ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

การแข่งขันกินผลไม้พื้นบ้านเบตง-เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง 2024


   เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง" ประจําปี 2567 และกิจกรรมสตรีทฟู้ดแอนด์อาร์ต วันที่ 26-30 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์เทศบาลเมืองเบตง สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดยะลาร่วมกับเทศบาลเมืองเบตง ได้ร่วมกันจัดขึ้น เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวในพื้นที่ รวมถึงประชาสัมพันธ์อาหารและผลไม้ และสินค้าของดีชายแดนใต้ พบกับกิจกรรมมากมายอาทิ
-การประกวดทุเรียน -การประกวดมังคุดในสายหมอก -Chef Table เมนูพิเศษจากทุเรียนเบตง -ตลาดนัดผลไม้และของดีเมืองเบตง -การแข่งขันกินผลไม้ -การแข่งขันตําผลไม้ลีลา -การแสดงจากศิลปินและการแสดงศิลปวัฒนธรรม -การแสดงวาดภาพ สตรีทอาร์ต -การแสดงบอลลูน เวลา 17.30-18.30 น. และ 20.30-21.30น. คืนวันที่ 26 กรกฎาคม 2567 พบกับ โดม ปกรณ์ ลัม คืนวันที่ 29 กรกฎาคม 2567 พบกับ อานัส คืนวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 พบกับ วงฟิน FIN การแข่งขันกินผลไม้ กติกาคือต้องกินมังคุด น้ำหนัก 1 กิโลกรัม เงาะ ครึ่งกิโลกรัม และทุเรียนพื้นบ้าน ครึ่งกิโลกรัม ให้หมดภายในระยะเวลา 10 นาที ซึ่งจะเลือกกินมังคุด หรือ เงาะ ก่อนก็ได้ แต่ทุเรียนต้องกินเป็นลำดับสุดท้าย ผู้เข้าร่วมแข่งขันคนไหนกินหมดก่อนจะเป็นผู้ชนะ ซึ่งผู้ชนะเลิศ จะได้รับเงินรางวัล 3,000 บาท รองชนะเลิศอันดับ1 รับเงินรางวัล 2,000 บาท รองชนะเลิศอันดับ2 รับเงิน รางวัล 1,000 บาท ผลการแข่งขันประเภทหญิง อันดับ1 นาง วอง ฟู หลิน นักท่องเที่ยวชาวมาเลเซีย ที่เดินทางมาจาก มะละกา อันดับ2 นาง ว่อง ชิว แย่ ซึ่งก็เป็นนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซีย อันดับ3 คือแชมป์เก่าเมื่อปีที่แล้ว คือ น.ส.พิรีภรณ์ ศรีสกุลกานต์ ชาวไทย ผลการแข่งขันประเภทชาย ผู้เข้าร่วมแข่งขันชาวไทยกวาดเรียบ อันดับ1 นายเรวัต คมขำ แชมป์เก่า ยังคงรักษาแชมป์ไว้ได้ อันดับ2 นายสิทธิชัย แซ่เล่า และอันดับ3 นายอามาน สะรี

การแสดงจากบำเพ็ญบุญ มูลนิธิ(กวางไส)เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง 2024


   เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง" ประจําปี 2567 และกิจกรรมสตรีทฟู้ดแอนด์อาร์ต วันที่ 26-30 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์เทศบาลเมืองเบตง สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดยะลาร่วมกับเทศบาลเมืองเบตง ได้ร่วมกันจัดขึ้น เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวในพื้นที่ รวมถึงประชาสัมพันธ์อาหารและผลไม้ และสินค้าของดีชายแดนใต้ พบกับกิจกรรมมากมายอาทิ
-การประกวดทุเรียน -การประกวดมังคุดในสายหมอก -Chef Table เมนูพิเศษจากทุเรียนเบตง -ตลาดนัดผลไม้และของดีเมืองเบตง -การแข่งขันกินผลไม้ -การแข่งขันตําผลไม้ลีลา -การแสดงจากศิลปินและการแสดงศิลปวัฒนธรรม -การแสดงวาดภาพ สตรีทอาร์ต -การแสดงบอลลูน เวลา 17.30-18.30 น. และ 20.30-21.30น. คืนวันที่ 26 กรกฎาคม 2567 พบกับ โดม ปกรณ์ ลัม คืนวันที่ 29 กรกฎาคม 2567 พบกับ อานัส คืนวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 พบกับ วงฟิน FIN ชมบรรยากาศภายในงานและพิธีเปิดเทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง มีนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างประเทศให้ความสนใจเป็นอย่างดี บรรยากาศท่องเที่ยวคึกคักมาก

วันศุกร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

บรรยากาศและพิธีเปิดงานเทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง 2024 Betong Fruit and...


   เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง" ประจําปี 2567 และกิจกรรมสตรีทฟู้ดแอนด์อาร์ต วันที่ 26-30 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์เทศบาลเมืองเบตง สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดยะลาร่วมกับเทศบาลเมืองเบตง ได้ร่วมกันจัดขึ้น เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวในพื้นที่ รวมถึงประชาสัมพันธ์อาหารและผลไม้ และสินค้าของดีชายแดนใต้ พบกับกิจกรรมมากมายอาทิ
-การประกวดทุเรียน -การประกวดมังคุดในสายหมอก -Chef Table เมนูพิเศษจากทุเรียนเบตง -ตลาดนัดผลไม้และของดีเมืองเบตง -การแข่งขันกินผลไม้ -การแข่งขันตําผลไม้ลีลา -การแสดงจากศิลปินและการแสดงศิลปวัฒนธรรม -การแสดงวาดภาพ สตรีทอาร์ต -การแสดงบอลลูน เวลา 17.30-18.30 น. และ 20.30-21.30น. คืนวันที่ 26 กรกฎาคม 2567 พบกับ โดม ปกรณ์ ลัม คืนวันที่ 29 กรกฎาคม 2567 พบกับ อานัส คืนวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 พบกับ วงฟิน FIN ชมบรรยากาศภายในงานและพิธีเปิดเทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง มีนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างประเทศให้ความสนใจเป็นอย่างดี บรรยากาศท่องเที่ยวคึกคักมาก

โดม ปกรณ์ ลัม-เพียงกระซิบ(cover)เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตงBetong Fruit...


   เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง" ประจําปี 2567 และกิจกรรมสตรีทฟู้ดแอนด์อาร์ต วันที่ 26-30 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์เทศบาลเมืองเบตง สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดยะลาร่วมกับเทศบาลเมืองเบตง ได้ร่วมกันจัดขึ้น เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวในพื้นที่ รวมถึงประชาสัมพันธ์อาหารและผลไม้ และสินค้าของดีชายแดนใต้ พบกับกิจกรรมมากมายอาทิ
-การประกวดทุเรียน -การประกวดมังคุดในสายหมอก -Chef Table เมนูพิเศษจากทุเรียนเบตง -ตลาดนัดผลไม้และของดีเมืองเบตง -การแข่งขันกินผลไม้ -การแข่งขันตําผลไม้ลีลา -การแสดงจากศิลปินและการแสดงศิลปวัฒนธรรม -การแสดงวาดภาพ สตรีทอาร์ต -การแสดงบอลลูน เวลา 17.30-18.30 น. และ 20.30-21.30น. คืนวันที่ 26 กรกฎาคม 2567 พบกับ โดม ปกรณ์ ลัม คืนวันที่ 29 กรกฎาคม 2567 พบกับ อานัส คืนวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 พบกับ วงฟิน FIN

โดม ปกรณ์ ลัม-จิ๊จ๊ะ(cover) เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตงBetong Fruit and...


   เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง" ประจําปี 2567 และกิจกรรมสตรีทฟู้ดแอนด์อาร์ต วันที่ 26-30 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์เทศบาลเมืองเบตง สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดยะลาร่วมกับเทศบาลเมืองเบตง ได้ร่วมกันจัดขึ้น เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวในพื้นที่ รวมถึงประชาสัมพันธ์อาหารและผลไม้ และสินค้าของดีชายแดนใต้ พบกับกิจกรรมมากมายอาทิ
-การประกวดทุเรียน -การประกวดมังคุดในสายหมอก -Chef Table เมนูพิเศษจากทุเรียนเบตง -ตลาดนัดผลไม้และของดีเมืองเบตง -การแข่งขันกินผลไม้ -การแข่งขันตําผลไม้ลีลา -การแสดงจากศิลปินและการแสดงศิลปวัฒนธรรม -การแสดงวาดภาพ สตรีทอาร์ต -การแสดงบอลลูน เวลา 17.30-18.30 น. และ 20.30-21.30น. คืนวันที่ 26 กรกฎาคม 2567 พบกับ โดม ปกรณ์ ลัม คืนวันที่ 29 กรกฎาคม 2567 พบกับ อานัส คืนวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 พบกับ วงฟิน FIN

วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

การแสดงลิเกฮูลู-คณะอาเนาะ บูลัน"เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง"Dikir ...


   ลิเกฮูลูหรือดีเกฮูลู เป็นการละเล่นขึ้นบทเป็นเพลงประกอบดนตรีและจังหวะตบมือ มีรากฐานเดิมมาจากคำว่า ลิเก คือการอ่านทำนองเสนาะ และคำว่า ฮูลู ซึ่งหมายถึง ทิศใต้ ซึ่งเมื่อรวมความแล้วคือ การขับกลอนเป็นทำนองเสนาะจากทิศใต้ บทกลอนที่ใช้ขับเรียกว่า ปันตน หรือ ปาตง ในภาษามลายูถิ่นปัตตานี
ลักษณะการแสดง ลิเกฮูลูคณะหนึ่ง ๆ จะมีประมาณ 10 คน เป็นชายล้วน มีต้นเสียง 1-3 คน ที่เหลือจะเป็นลูกคู่ เวทีลิเกฮูลู จะยกพื้นสูงประมาณ 1 เมตร เปิดโล่งไม่มีม่าน ไม่มีฉาก ลูกคู่ขึ้นไปนั่งล้อมวงร้องรับและตบมือโยกตัวให้เข้ากับจังหวะดนตรี ส่วนผู้ร้องหรือผู้โต้กลอนจะลุกขึ้นยื่นข้าง ๆ วงลูกคู่ ถ้ากรณีมีการประชันกัน แต่ละคณะจะขึ้นนั่งบนเวทีด้วยกัน แต่ล้อมวงแยกกันพอสมควร การแสดงที่ผลัดกันร้องทีละรอบทั้งรุกและรับเป็นที่ครึกครื้นสบอารมณ์ของผู้ชม ลิเกฮูลู เริ่มต้นด้วยการแสดงด้วยดนตรีที่ใช้โหมโรงเป็นการเรียกผู้ชม ต่อจากนั้นนักร้องออกมาร้องเพลงในจังหวะต่าง ๆ ทีละคน เนื้อร้องกล่าวถึงความประสงค์ในการเล่น แล้วจึงเริ่มแสดง ซึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวของเหตุการณ์บ้านเมือง ปัญหาท้องถิ่นหรือเรื่องตลกโปกฮา ผู้แสดงจะต้องใช้คารมและปฏิภาณ ให้ทั้งความรู้และความบันเทิงแก่ผู้ชม เครื่องดนตรีประกอบ เล่นลิเกฮูลู ประกอบด้วยรำมะนา อย่างน้อย ๒ ใบ ใช้ตีดำเนินจังหวะในการแสดง ฆ้องเป็นเครื่องกำกับจังหวะ ตีสม่ำเสมอประกอบการร้อง นอกจากนี้ยังมีเครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบและเป็นที่นิยมกันว่า ทำให้ครึกครื้น สนุกสนานไพเราะมากยิ่งขึ้น เช่น ขลุ่ย ลูกแซก แต่จังหวะที่ใช้เป็นประเพณีในการละเล่นคือ การตบมือ "เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 16-18 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์ สวนน้ำ เทศบาลเมืองเบตง อ.เบตง จ.ยะลา ภายในงานมีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น การแสดงศิลปะการต่อสู้ของไทยมุสลิมแบบโบราณ การเดินแบบผ้าพื้นถิ่นภายใต้แนวคิด "ยะลา หลาก หลาย"การแสดงวงดนตรีเยาวชน การสาธิตและจำหน่ายช่างฝีมือพื้นบ้าน การสาธิตและจำหน่ายอาหารโบราณ หาทานยาก การจัดนิทรรศการภาพเขียน-ภาพถ่าย เรื่องราววิถีชีวิตชุมชน การเสวนา "วิถีวัฒนธรรมชาวฮากกา" การเสวนา "งานหัตถศิลป์ชายแดนใต้ " การเสวนา "จิบกาแฟ แชร์เรื่องราว เล่าประวัติศาสตร์อเบตง" การสาธิตและจำหน่ายกาแฟท้องถิ่น เป็นต้น

การแสดงลิเกฮูลู-โรงเรียนบ้านมาลา "เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง" Di...


   ลิเกฮูลูหรือดีเกฮูลู เป็นการละเล่นขึ้นบทเป็นเพลงประกอบดนตรีและจังหวะตบมือ มีรากฐานเดิมมาจากคำว่า ลิเก คือการอ่านทำนองเสนาะ และคำว่า ฮูลู ซึ่งหมายถึง ทิศใต้ ซึ่งเมื่อรวมความแล้วคือ การขับกลอนเป็นทำนองเสนาะจากทิศใต้ บทกลอนที่ใช้ขับเรียกว่า ปันตน หรือ ปาตง ในภาษามลายูถิ่นปัตตานี
ลักษณะการแสดง ลิเกฮูลูคณะหนึ่ง ๆ จะมีประมาณ 10 คน เป็นชายล้วน มีต้นเสียง 1-3 คน ที่เหลือจะเป็นลูกคู่ เวทีลิเกฮูลู จะยกพื้นสูงประมาณ 1 เมตร เปิดโล่งไม่มีม่าน ไม่มีฉาก ลูกคู่ขึ้นไปนั่งล้อมวงร้องรับและตบมือโยกตัวให้เข้ากับจังหวะดนตรี ส่วนผู้ร้องหรือผู้โต้กลอนจะลุกขึ้นยื่นข้าง ๆ วงลูกคู่ ถ้ากรณีมีการประชันกัน แต่ละคณะจะขึ้นนั่งบนเวทีด้วยกัน แต่ล้อมวงแยกกันพอสมควร การแสดงที่ผลัดกันร้องทีละรอบทั้งรุกและรับเป็นที่ครึกครื้นสบอารมณ์ของผู้ชม ลิเกฮูลู เริ่มต้นด้วยการแสดงด้วยดนตรีที่ใช้โหมโรงเป็นการเรียกผู้ชม ต่อจากนั้นนักร้องออกมาร้องเพลงในจังหวะต่าง ๆ ทีละคน เนื้อร้องกล่าวถึงความประสงค์ในการเล่น แล้วจึงเริ่มแสดง ซึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวของเหตุการณ์บ้านเมือง ปัญหาท้องถิ่นหรือเรื่องตลกโปกฮา ผู้แสดงจะต้องใช้คารมและปฏิภาณ ให้ทั้งความรู้และความบันเทิงแก่ผู้ชม เครื่องดนตรีประกอบ เล่นลิเกฮูลู ประกอบด้วยรำมะนา อย่างน้อย ๒ ใบ ใช้ตีดำเนินจังหวะในการแสดง ฆ้องเป็นเครื่องกำกับจังหวะ ตีสม่ำเสมอประกอบการร้อง นอกจากนี้ยังมีเครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบและเป็นที่นิยมกันว่า ทำให้ครึกครื้น สนุกสนานไพเราะมากยิ่งขึ้น เช่น ขลุ่ย ลูกแซก แต่จังหวะที่ใช้เป็นประเพณีในการละเล่นคือ การตบมือ "เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 16-18 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์ สวนน้ำ เทศบาลเมืองเบตง อ.เบตง จ.ยะลา ภายในงานมีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น การแสดงศิลปะการต่อสู้ของไทยมุสลิมแบบโบราณ การเดินแบบผ้าพื้นถิ่นภายใต้แนวคิด "ยะลา หลาก หลาย"การแสดงวงดนตรีเยาวชน การสาธิตและจำหน่ายช่างฝีมือพื้นบ้าน การสาธิตและจำหน่ายอาหารโบราณ หาทานยาก การจัดนิทรรศการภาพเขียน-ภาพถ่าย เรื่องราววิถีชีวิตชุมชน การเสวนา "วิถีวัฒนธรรมชาวฮากกา" การเสวนา "งานหัตถศิลป์ชายแดนใต้ " การเสวนา "จิบกาแฟ แชร์เรื่องราว เล่าประวัติศาสตร์อเบตง" การสาธิตและจำหน่ายกาแฟท้องถิ่น เป็นต้น

วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

ลิเกฮูลู-คณะผอ.ยูนุห์ ตุยง"เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง"Festival co...


   ลิเกฮูลูหรือดีเกฮูลู เป็นการละเล่นขึ้นบทเป็นเพลงประกอบดนตรีและจังหวะตบมือ มีรากฐานเดิมมาจากคำว่า ลิเก คือการอ่านทำนองเสนาะ และคำว่า ฮูลู ซึ่งหมายถึง ทิศใต้ ซึ่งเมื่อรวมความแล้วคือ การขับกลอนเป็นทำนองเสนาะจากทิศใต้ บทกลอนที่ใช้ขับเรียกว่า ปันตน หรือ ปาตง ในภาษามลายูถิ่นปัตตานี
ลักษณะการแสดง ลิเกฮูลูคณะหนึ่ง ๆ จะมีประมาณ 10 คน เป็นชายล้วน มีต้นเสียง 1-3 คน ที่เหลือจะเป็นลูกคู่ เวทีลิเกฮูลู จะยกพื้นสูงประมาณ 1 เมตร เปิดโล่งไม่มีม่าน ไม่มีฉาก ลูกคู่ขึ้นไปนั่งล้อมวงร้องรับและตบมือโยกตัวให้เข้ากับจังหวะดนตรี ส่วนผู้ร้องหรือผู้โต้กลอนจะลุกขึ้นยื่นข้าง ๆ วงลูกคู่ ถ้ากรณีมีการประชันกัน แต่ละคณะจะขึ้นนั่งบนเวทีด้วยกัน แต่ล้อมวงแยกกันพอสมควร การแสดงที่ผลัดกันร้องทีละรอบทั้งรุกและรับเป็นที่ครึกครื้นสบอารมณ์ของผู้ชม ลิเกฮูลู เริ่มต้นด้วยการแสดงด้วยดนตรีที่ใช้โหมโรงเป็นการเรียกผู้ชม ต่อจากนั้นนักร้องออกมาร้องเพลงในจังหวะต่าง ๆ ทีละคน เนื้อร้องกล่าวถึงความประสงค์ในการเล่น แล้วจึงเริ่มแสดง ซึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวของเหตุการณ์บ้านเมือง ปัญหาท้องถิ่นหรือเรื่องตลกโปกฮา ผู้แสดงจะต้องใช้คารมและปฏิภาณ ให้ทั้งความรู้และความบันเทิงแก่ผู้ชม เครื่องดนตรีประกอบ เล่นลิเกฮูลู ประกอบด้วยรำมะนา อย่างน้อย ๒ ใบ ใช้ตีดำเนินจังหวะในการแสดง ฆ้องเป็นเครื่องกำกับจังหวะ ตีสม่ำเสมอประกอบการร้อง นอกจากนี้ยังมีเครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบและเป็นที่นิยมกันว่า ทำให้ครึกครื้น สนุกสนานไพเราะมากยิ่งขึ้น เช่น ขลุ่ย ลูกแซก แต่จังหวะที่ใช้เป็นประเพณีในการละเล่นคือ การตบมือ "เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 16-18 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์ สวนน้ำ เทศบาลเมืองเบตง อ.เบตง จ.ยะลา ภายในงานมีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น การแสดงศิลปะการต่อสู้ของไทยมุสลิมแบบโบราณ การเดินแบบผ้าพื้นถิ่นภายใต้แนวคิด "ยะลา หลาก หลาย"การแสดงวงดนตรีเยาวชน การสาธิตและจำหน่ายช่างฝีมือพื้นบ้าน การสาธิตและจำหน่ายอาหารโบราณ หาทานยาก การจัดนิทรรศการภาพเขียน-ภาพถ่าย เรื่องราววิถีชีวิตชุมชน การเสวนา "วิถีวัฒนธรรมชาวฮากกา" การเสวนา "งานหัตถศิลป์ชายแดนใต้ " การเสวนา "จิบกาแฟ แชร์เรื่องราว เล่าประวัติศาสตร์อเบตง" การสาธิตและจำหน่ายกาแฟท้องถิ่น เป็นต้น

วันอังคารที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

"สิละ"หรือ"ซีละ" ศิลปะการต่อสู้ของไทยมุสลิมแบบโบราณ "Sila"is an ancient ...


   สิละ หรือ ซีละ เป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวอย่างหนึ่งของไทยมุสลิม ทำนองเดียวกับคาราเต้ ยูโด กังฟู หรือมวยไทยมุสลิมภาคใต้เรียกว่าการต่อสู้แบบสิละอย่างหนึ่งว่า “ดีกา” หรือ “เบือดีกา” ในพื้นที่จังหวัดสตูล เรียกศิลปะการต่อสู้แบบนี้ ตามความเดิมว่า สิละ และบางพื้นที่เรียกว่า “กายอ” หรือ “กาหยง” ซึ่งเป็นประเภทของสิละที่ใช้ “กริช” ประกอบการร่ายรำ สิละเป็นการต่อสู้ด้วยมือเปล่าเน้นให้เห็นลีลาการเคลื่อนไหวที่สง่างามคำว่า “สิละ” บางครั้งเขียนหรือพูดเป็น “ชีละบางท่านบอกว่ารากศัพท์มาจาก “ศิละ” ภาษาสันสกฤต เพราะพื้นที่ที่ศิลปะสิละ อยู่บนดินแดนชวา มลายู และทางตอนใต้ของประเทศไทย อดีตเคยเป็นดินแดนอาณาจักรศรีวิชัย ซึ่งมีวัฒนธรรมอินเดียเป็นแม่บทสำคัญ จึงมีคำสันสกฤตปรากฏอยู่มาก ความหมายเดิมของสิละหมายถึง การต่อสู้ด้วยน้ำใจนักกีฬา ผู้เรียนวิชานี้จึงต้องมีศิลปะ มีวินัย ที่จะนำกลยุทธ์ไปใช่ป้องกันตัว ไม่ใช่ไปทำร้ายผู้อื่นให้ได้รับความเดือดร้อน
จุดประสงค์ของสิละ มุ่งศิลปะการร่ายรำมากกว่าศิลปะการต่อสู้แบบสมจริง การต่อสู้แบบสิละมีมาตั้งแต่ ๔๐๐ ปีมาแล้ว โดยกำเนิดที่เกาะสุมาตรา ชื่อ มูฮันนุดดีนซัมซุดดิน และฮามินนุดดีน ประเภทสิละที่มีในภาคใต้มี ๓ ประเภท สิละยาโต๊ะ คือสิละอาศัยศิลปะการต่อสู้ เมื่อฝ่ายหนึ่งรุก อีกฝ่ายหนึ่งต้องรับ ถ้ารับไม่ได้ก็จะตกไป เรียกว่า ยาโต๊ะ (ตก) สิละราตรี (รำ) คือสิละที่ต่อกรด้วยชำนิชำนาญ ในจังหวะลีลาการร่ายรำ ส่วนมากใช้แสดงเฉพาะหน้าเจ้าเมืองหรือเจ้านายชั้นสูง สิละกายอ (กริช) คือสิละที่ใช้กริชในการร่ายรำไม่ใช่การต่อสู้หลอก ๆ การแต่งกาย มุ่งที่ความสวยงามเป็นประการสำคัญ เช่น มีผ้าโพกศีรษะ สวมเสื้อ หรือคอตั้ง นุ่งกางเกงขายาว มีผ้าโสร่ง เรียกว่า ผ้าซอเกต เครื่องดนตรี ประกอบด้วย กลองยาว ๑ ใบ กลองเล็ก ๑ ใบ ฆ้อง ๑ คู่ และปี่ยาว ๑ เลา ผู้แสดง สิละเป็นการละเล่นของผู้ชาย ก่อนนักสิละลงมือสู้ เริ่มด้วยการที่ทั้งคู่จะทำความเคารพซึ่งกันและกัน เรียกว่ายาบัดตางัน (จับมือ) จากนั้น จึงเริ่มวาดลวดลายตามศิลปะสิละ จะมีท่ากระทืบเท้าให้เกิดเสียง หรือเอาฝามือตบขาของตนเอง เป็นการข่มขวัญปรปักษ์ รำร่อน ไปรอบสังเวียน ก้าวเดินหน้าถอยหลัง ตามจังหวะดนตรี ประหนึ่งเป็นการลองเชิงคู่ต่อสู้ก่อน แล้วต่างหาทางพิชิตคู่ต่อสู้ โดยการหาจังหวะใช้ฝามือฟาดหรือใช้เท้าดันร่างกายฝ่ายตรงข้าม จังหวะการประชิดตัวนั้น เสมือนว่าจะห้ำหั่นกัน ชั่วฟ้าดินสลาย พร้อมกับจังหวะดนตรีโหมจังหวะกระชั้น พลอยให้คนดูระทึกใจ กระบวนชั้นเชิงสิละมีมากมายหลายท่า เช่น ท่าซังคะ ตั้งท่าป้องกัน สังคะดูวา ท่ายืนตรงพร้อมต่อสู้ สังคะตีฆา ท่ายกมือขึ้นป้องกัน คือ มือขวาปิดท้องน้อย แขนซ้ายยกเสมอบ่า สังคะอำปัด ท่าก้าวไปตั้งหลัก "เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 16-18 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์ สวนน้ำ เทศบาลเมืองเบตง อ.เบตง จ.ยะลา ภายในงานมีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น การแสดงศิลปะการต่อสู้ของไทยมุสลิมแบบโบราณ การเดินแบบผ้าพื้นถิ่นภายใต้แนวคิด "ยะลา หลาก หลาย"การแสดงวงดนตรีเยาวชน การสาธิตและจำหน่ายช่างฝีมือพื้นบ้าน การสาธิตและจำหน่ายอาหารโบราณ หาทานยาก การจัดนิทรรศการภาพเขียน-ภาพถ่าย เรื่องราววิถีชีวิตชุมชน การเสวนา "วิถีวัฒนธรรมชาวฮากกา" การเสวนา "งานหัตถศิลป์ชายแดนใต้ " การเสวนา "จิบกาแฟ แชร์เรื่องราว เล่าประวัติศาสตร์อเบตง" การสาธิตและจำหน่ายกาแฟท้องถิ่น เป็นต้น

พิธีเปิด"เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง"Festival to revive the ancien...


   พิธีเปิดเทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง ระหว่างวันที่ 16-18 ก.ค. 2567 ณ.ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนอัตลักษณ์ทางภาษา ประเพณี วัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดยะลา ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจแก่ประชาชนในพื้นที่และเกิดการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบสาน และส่งต่อคุณค่าของความหลากหลายทางวัฒนธรรมจากรุ่นสู่รุ่น พร้อมขับเคลื่อน Soft Power ในพื้นที่จังหวัดยะลา โดยเชื่อมโยงประเพณีวัฒนธรรมกับการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของพื้นที่จังหวัดยะลา นำไปสู่การยกระดับความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยวและนักลงทุน ก่อให้เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจ สร้างอาชีพและรายได้สู่ชุมชนอย่างยั่งยืน โดยมีนางสุนิสา อยู่หนูสิงห์ วัฒนธรรมจังหวัดยะลา นายอมร ชุมช่วย นายอำเภอเบตง นายสกุล เล็งลัคน์กุล นายกเทศมนตรีเมืองเบตง หัวหน้าส่วนราชการ นักท่องเที่ยวชาวไทยและมาเลเซียเข้าร่วม
นางศศิทอณร์ สุวรรณมณี หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงวัฒนธรรม เป็นประธานพิธีเปิดงาน"เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง" ได้กล่าวว่ารัฐบาลมีนโยบายการแก้ปัญหาและพัฒนาพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ในด้านการทำนุบำรุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม โดยได้ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมให้สถาบันทางสังคมร่วมปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดี รวมทั้งการทำนุบำรุงศาสนา การอนุรักษ์พื้นฟูศิลปวัฒนธรรมและการยอมรับประเพณีวัฒนธรรมที่ดีที่มีความหลากหลาย เพื่อให้จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีความปลอดภัย และมีความสันติสุขบนพื้นฐานของสังคมพหุวัฒนธรรม

วันจันทร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

เที่ยวเบตง"เส้นทางท่องเที่ยวบ่อน้ำร้อนเบตง 2024"Betong Hot Springs trave...


   

แนะนำเส้นทางท่องเที่ยวบ่อน้ำร้อนเบตง ประจำปี 2024โดยเริ่มต้นที่ปากอุโมงค์เบตงมงคลฤทธิ์ ผ่านหอนาฬิกาเบตง บ้านกม.4 ไปตามเส้นทางหลวงชนบท ยล.3004 ใช้เวลาเดินทางประมาณ 15 นาที โดยในช่วงเดือนกรกฎาคมไปจนถึงเดือนกันยายน จะเป็นช่วงผลไม้เบตง มีผลผลิตทุเรียนเป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวมาเลเซีย จะเข้าชิมทุเรียนเบตง โดยมีสายพันธ์มูซานคิง โอวฉี่ พวงมณี หมอนทอง เป็นต้น

วันศุกร์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

เที่ยวเบตง"ตลาดกลางคืนบ่อน้ำร้อน" Hotspring Night Market 2024


อบจ.ยะลา ได้จัดงานงานตลาดกลางคืนบ่อน้ำร้อน Hotspring Night Market ณ บริเวณบ้านบ่อน้ำร้อนเบตง หมู่ที่ 2 ตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา ระหว่างวันที่ 12 – 13 กรกฎาคม 2567 พบกับกิจกรรม - จำหน่ายสินค้า อาหาร เครื่องดื่ม ฯลฯ - FUN LAND พื้นที่ให้ความสนุกแก่เด็กๆ - ตกแต่งสถานที่ให้นักท่องเที่ยวถ่ายรูปเช็คอิน - กิจกรรมนวดออนเซนเพื่อสุขภาพ - กิจกรรม Musical so Happiness - การแสดงวงดนตรีโฟล์คซอง อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว นับเป็นกิจกรรมที่สร้างรายได้หลักให้แก่ประเทศไทย และเป็นอุตสาหกรรมการบริการที่มีบทบาทสูงยิ่งต่อระบบเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดการหมุนเวียนและกระจายรายได้ไปสู่ภูมิภาครวมไปถึงท้องถิ่น จังหวัดยะลาเป็นจังหวัดใต้สุดของประเทศไทย ตามคำขวัญของจังหวัดคือ "ใต้สุดสยาม เมืองงามชายแดน" ถือเป็นอีกจังหวัดหนึ่งที่มีการท่องเที่ยวที่หลากหลาย โดยเฉพาะอำเภอเบตง มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรม ที่มีความหลากหลายทั้งในด้านขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิตของชาวไทยพุทธ ชาวไทยมุสลิม และชาวไทยเชื้อสายจีน ซึ่งผสมกลมกลืนอย่างลงตัว วิถีชีวิตของชุมชนพื้นบ้านที่โดดเด่น สื่อให้เห็นถึงการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าและศิลปะขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิปัญญาในแขนงต่างๆ จังหวัดยะลา ยังมีอะไรมากมายที่รอให้นักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาเที่ยวชมดินแดนใต้สุดแดนสยาม ณ ปลายด้ามขวานแห่งนี้ องค์การบริหารส่วนจังหวัดยะลาได้ให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย จัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งขาวไทยและชาวต่างชาติ ให้เข้ามาเที่ยวและจับจ่ายใช้สอยในจังหวัดยะลาเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ และสร้างรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่จึงได้กำหนดจัดโครงการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยว กิจกรรม Hotspring Night Market เป็นรูปแบบตลาดนัดกลางคืนภายในแหล่งท่องเที่ยวบ่อน้ำร้อนเบตงโดยการจำหน่ายสินค้า อาหารและเครื่องดื่ม มีวงดนตรีโฟล์คซอง และจุดถ่ายรูปเช็คอิน เพื่อให้นักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยว และชมกิจกรรมภายในบ่อน้ำร้อนเบตงแห่งนี้ให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น