ประเพณีชักพระเป็นประเพณีท้องถิ่นของชาวภาคใต้ ซึ่งเป็นประเพณีทำบุญในวันออกพรรษา(ซึ่งปีนี้ตรงกับวันขึ้น15 ค่ำเดือน11)ซึ่งเชื่อกันว่าเมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปจำพรรษา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อโปรดพระมารดา เมื่อครบพรรษาจึงเสด็จมายังโลกมนุษย์ พุทธศาสนิกชนจึงมารอรับเสด็จ แล้วอัญเชิญพระพุทธเจ้าขึ้นประทับบนบุษบกแล้วแห่ไปรอบเมือง
สำหรับการลากพระ หรือลากเรือพระออกจากวัดจะเต็มไปด้วยพุทธศาสนิกชนที่มาร่วมกันถือเชือกขนาดใหญ่ที่เป็นเครื่องมือสำหรับลากเรือพระ ที่ถูกประดับประดาอย่างสวยงามด้วยต้นไผ่ ต้นกล้วย มีการตีตะโพน และกังสดาล รวมทั้งลั่นระฆังไปตลอดทาง และมีการแจกจ่ายขนมออกพรรษา คือขนมต้ม และขนมลูกเห็ด ซึ่งเป็นขนมพื้นเมืองที่ใช้ในประเพณีนี้ ซึ่งผู้ที่ร่วมลากพระจะได้รับอานิสงส์บุญในช่วงออกพรรษาเป็นอย่างมาก
บรรยากาศประเพณีชักพระที่ อ.เบตง พุทธศาสนิกชนชาวเบตง และชาวมาเลเซีย ต่างร่วมพิธีลากพระเพื่อสืบสานวัฒนธรรมโดยที่เรือพระจะลากจากบริเวณหน้าตลาดสดเทศบาลเมืองเบตง ไปยังสวนน้ำเทศบาลเมืองเบตง โดยมีขบวนแห่เรือพระในพื้นที่อำเภอเบตง ได้ร่วมกันจัดตกแต่งเรือพระ เนื่องในประเพณีชักพระ โดยขบวนแห่เรือพระจะไปตามถนนสายต่าง ๆ ในเขตเทศบาลเมืองเบตง ซึ่งมีพุทธศาสนิกชนทั้งชาวไทยและนักท่องเที่ยวจากประเทศมาเลเซีย ได้ร่วมลากเรือพระกันอย่างคึกคัก เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตัวเองและครอบครัว
โพนเป็นกลองชนิดหนึ่งใช้ตีเพื่อการสื่อสาร เป็นเครื่องดนตรีที่แสดงออกถึงวิถีชีวิตของคนภาคใต้ ยังมีประเพณีการตีโพนที่เกี่ยวช้องกับการดำเนินชีวิตอยู่ โพนเป็นการบรรเลงเดี่ยว การใช้โพนมีลักษณะดังนี้
- โพนตีบอกเวลา โดยปกติจะมีการใช้โพนในวัตสำหรับตีบอกเวลา
- คุมโพน คือการเล่นโพนประกอบในเรือชักพระในช่วงเทศกาลออกพรรษา มักจะตีล่วงหน้าก่อนถึงวันชักพระ เพื่อเป็นสัญญาณบอกให้ชาวบ้านทราบว่าวัดกำลังจัดกิจกรรม การชักพระตามประเพณีชาวบ้านจะช่วยกันทำเรือชักพระ และนำอาหารมาช่วย
- แข่งโพน คือการแข่งขันกันตีโพนในวันชักพระหลังจากลากเรือพระมาถึงจุดหมาย ในเวลากลางคืนจะมีการแข่งดีโพนว่าลูกไหนตีดัง
- หลักโพน คือการดีโพนโต้ตอบแข่งขันกันก่อนวันชักพระ โดยแข่งขันกันในเวลากลางคืนระหว่างวัดต่างๆ เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน ถ้าแพ้ต้องทำอาหารเลี้ยงฝ่ายชนะ
Facebook รวบรวมภาพถ่ายเบตง : https://www.facebook.com/BetongOkayTravel/
Instagram : https://www.instagram.com/travelbetong/
TikTok : https://www.tiktok.com/@betongokaytravel?tab=Content&lang=th-TH&type=webapp
Blogger : https://betongokaytravel.blogspot.com/
Google site : https://tourist-attraction-3330.business.site/?utm_source=gmb&utm_medium=referral
สาระ บันเทิง การท่องเที่ยว กิจกรรมทั่วไปเกี่ยวกับเรื่องรอบตัวเรา และเกล็ดเล็กเกล็ดน้อยของเมืองเบตง สถานที่ต่างๆที่เคยไปมา อาหารการกินของคนท้องถิ่น เผยแพร่เรื่องราวต่างๆในมุมมองของชีวิตผ่านสายตาของท่านผู้ชมทุกคน กับเรื่องราวต่างๆที่ได้ถ่ายทอดออกมาซึ่งอาจมีประโยชน์ด้านข่าวสารและเป็นประสบการณ์ความทรงจำของชีวิตเรา
วันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2567
วันเสาร์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2567
การแข่งขันตีโพน อำเภอเบตง(รอบ2)-วัดกม.29VSวัดซาโห่#ชักพระ#ออกพรรษา#ตีโพน...
ประเพณีชักพระเป็นประเพณีท้องถิ่นของชาวภาคใต้ ซึ่งเป็นประเพณีทำบุญในวันออกพรรษา(ซึ่งปีนี้ตรงกับวันขึ้น15 ค่ำเดือน11)ซึ่งเชื่อกันว่าเมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปจำพรรษา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อโปรดพระมารดา เมื่อครบพรรษาจึงเสด็จมายังโลกมนุษย์ พุทธศาสนิกชนจึงมารอรับเสด็จ แล้วอัญเชิญพระพุทธเจ้าขึ้นประทับบนบุษบกแล้วแห่ไปรอบเมือง
สำหรับการลากพระ หรือลากเรือพระออกจากวัดจะเต็มไปด้วยพุทธศาสนิกชนที่มาร่วมกันถือเชือกขนาดใหญ่ที่เป็นเครื่องมือสำหรับลากเรือพระ ที่ถูกประดับประดาอย่างสวยงามด้วยต้นไผ่ ต้นกล้วย มีการตีตะโพน และกังสดาล รวมทั้งลั่นระฆังไปตลอดทาง และมีการแจกจ่ายขนมออกพรรษา คือขนมต้ม และขนมลูกเห็ด ซึ่งเป็นขนมพื้นเมืองที่ใช้ในประเพณีนี้ ซึ่งผู้ที่ร่วมลากพระจะได้รับอานิสงส์บุญในช่วงออกพรรษาเป็นอย่างมาก
บรรยากาศประเพณีชักพระที่ อ.เบตง พุทธศาสนิกชนชาวเบตง และชาวมาเลเซีย ต่างร่วมพิธีลากพระเพื่อสืบสานวัฒนธรรมโดยที่เรือพระจะลากจากบริเวณหน้าตลาดสดเทศบาลเมืองเบตง ไปยังสวนน้ำเทศบาลเมืองเบตง โดยมีขบวนแห่เรือพระในพื้นที่อำเภอเบตง ได้ร่วมกันจัดตกแต่งเรือพระ เนื่องในประเพณีชักพระ โดยขบวนแห่เรือพระจะไปตามถนนสายต่าง ๆ ในเขตเทศบาลเมืองเบตง ซึ่งมีพุทธศาสนิกชนทั้งชาวไทยและนักท่องเที่ยวจากประเทศมาเลเซีย ได้ร่วมลากเรือพระกันอย่างคึกคัก เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตัวเองและครอบครัว
โพนเป็นกลองชนิดหนึ่งใช้ตีเพื่อการสื่อสาร เป็นเครื่องดนตรีที่แสดงออกถึงวิถีชีวิตของคนภาคใต้ ยังมีประเพณีการตีโพนที่เกี่ยวช้องกับการดำเนินชีวิตอยู่ โพนเป็นการบรรเลงเดี่ยว การใช้โพนมีลักษณะดังนี้
- โพนตีบอกเวลา โดยปกติจะมีการใช้โพนในวัตสำหรับตีบอกเวลา
- คุมโพน คือการเล่นโพนประกอบในเรือชักพระในช่วงเทศกาลออกพรรษา มักจะตีล่วงหน้าก่อนถึงวันชักพระ เพื่อเป็นสัญญาณบอกให้ชาวบ้านทราบว่าวัดกำลังจัดกิจกรรม การชักพระตามประเพณีชาวบ้านจะช่วยกันทำเรือชักพระ และนำอาหารมาช่วย
- แข่งโพน คือการแข่งขันกันตีโพนในวันชักพระหลังจากลากเรือพระมาถึงจุดหมาย ในเวลากลางคืนจะมีการแข่งดีโพนว่าลูกไหนตีดัง
- หลักโพน คือการดีโพนโต้ตอบแข่งขันกันก่อนวันชักพระ โดยแข่งขันกันในเวลากลางคืนระหว่างวัดต่างๆ เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน ถ้าแพ้ต้องทำอาหารเลี้ยงฝ่ายชนะ
การแข่งขันตีโพน อำเภอเบตง-วัดจันทรัตนารามVSวัดวังใหม่#ชักพระ#ออกพรรษา#ตี...
ประเพณีชักพระเป็นประเพณีท้องถิ่นของชาวภาคใต้ ซึ่งเป็นประเพณีทำบุญในวันออกพรรษา(ซึ่งปีนี้ตรงกับวันขึ้น15 ค่ำเดือน11)ซึ่งเชื่อกันว่าเมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปจำพรรษา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อโปรดพระมารดา เมื่อครบพรรษาจึงเสด็จมายังโลกมนุษย์ พุทธศาสนิกชนจึงมารอรับเสด็จ แล้วอัญเชิญพระพุทธเจ้าขึ้นประทับบนบุษบกแล้วแห่ไปรอบเมือง
สำหรับการลากพระ หรือลากเรือพระออกจากวัดจะเต็มไปด้วยพุทธศาสนิกชนที่มาร่วมกันถือเชือกขนาดใหญ่ที่เป็นเครื่องมือสำหรับลากเรือพระ ที่ถูกประดับประดาอย่างสวยงามด้วยต้นไผ่ ต้นกล้วย มีการตีตะโพน และกังสดาล รวมทั้งลั่นระฆังไปตลอดทาง และมีการแจกจ่ายขนมออกพรรษา คือขนมต้ม และขนมลูกเห็ด ซึ่งเป็นขนมพื้นเมืองที่ใช้ในประเพณีนี้ ซึ่งผู้ที่ร่วมลากพระจะได้รับอานิสงส์บุญในช่วงออกพรรษาเป็นอย่างมาก
บรรยากาศประเพณีชักพระที่ อ.เบตง พุทธศาสนิกชนชาวเบตง และชาวมาเลเซีย ต่างร่วมพิธีลากพระเพื่อสืบสานวัฒนธรรมโดยที่เรือพระจะลากจากบริเวณหน้าตลาดสดเทศบาลเมืองเบตง ไปยังสวนน้ำเทศบาลเมืองเบตง โดยมีขบวนแห่เรือพระในพื้นที่อำเภอเบตง ได้ร่วมกันจัดตกแต่งเรือพระ เนื่องในประเพณีชักพระ โดยขบวนแห่เรือพระจะไปตามถนนสายต่าง ๆ ในเขตเทศบาลเมืองเบตง ซึ่งมีพุทธศาสนิกชนทั้งชาวไทยและนักท่องเที่ยวจากประเทศมาเลเซีย ได้ร่วมลากเรือพระกันอย่างคึกคัก เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตัวเองและครอบครัว
โพนเป็นกลองชนิดหนึ่งใช้ตีเพื่อการสื่อสาร เป็นเครื่องดนตรีที่แสดงออกถึงวิถีชีวิตของคนภาคใต้ ยังมีประเพณีการตีโพนที่เกี่ยวช้องกับการดำเนินชีวิตอยู่ โพนเป็นการบรรเลงเดี่ยว การใช้โพนมีลักษณะดังนี้
- โพนตีบอกเวลา โดยปกติจะมีการใช้โพนในวัตสำหรับตีบอกเวลา
- คุมโพน คือการเล่นโพนประกอบในเรือชักพระในช่วงเทศกาลออกพรรษา มักจะตีล่วงหน้าก่อนถึงวันชักพระ เพื่อเป็นสัญญาณบอกให้ชาวบ้านทราบว่าวัดกำลังจัดกิจกรรม การชักพระตามประเพณีชาวบ้านจะช่วยกันทำเรือชักพระ และนำอาหารมาช่วย
- แข่งโพน คือการแข่งขันกันตีโพนในวันชักพระหลังจากลากเรือพระมาถึงจุดหมาย ในเวลากลางคืนจะมีการแข่งดีโพนว่าลูกไหนตีดัง
- หลักโพน คือการดีโพนโต้ตอบแข่งขันกันก่อนวันชักพระ โดยแข่งขันกันในเวลากลางคืนระหว่างวัดต่างๆ เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน ถ้าแพ้ต้องทำอาหารเลี้ยงฝ่ายชนะ
การแข่งขันตีโพน อำเภอเบตง-วัดพุทธาธิวาสVSวัด กม.29#ชักพระ#ออกพรรษา#ตีโพน...
ประเพณีชักพระเป็นประเพณีท้องถิ่นของชาวภาคใต้ ซึ่งเป็นประเพณีทำบุญในวันออกพรรษา(ซึ่งปีนี้ตรงกับวันขึ้น15 ค่ำเดือน11)ซึ่งเชื่อกันว่าเมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปจำพรรษา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อโปรดพระมารดา เมื่อครบพรรษาจึงเสด็จมายังโลกมนุษย์ พุทธศาสนิกชนจึงมารอรับเสด็จ แล้วอัญเชิญพระพุทธเจ้าขึ้นประทับบนบุษบกแล้วแห่ไปรอบเมือง
สำหรับการลากพระ หรือลากเรือพระออกจากวัดจะเต็มไปด้วยพุทธศาสนิกชนที่มาร่วมกันถือเชือกขนาดใหญ่ที่เป็นเครื่องมือสำหรับลากเรือพระ ที่ถูกประดับประดาอย่างสวยงามด้วยต้นไผ่ ต้นกล้วย มีการตีตะโพน และกังสดาล รวมทั้งลั่นระฆังไปตลอดทาง และมีการแจกจ่ายขนมออกพรรษา คือขนมต้ม และขนมลูกเห็ด ซึ่งเป็นขนมพื้นเมืองที่ใช้ในประเพณีนี้ ซึ่งผู้ที่ร่วมลากพระจะได้รับอานิสงส์บุญในช่วงออกพรรษาเป็นอย่างมาก
บรรยากาศประเพณีชักพระที่ อ.เบตง พุทธศาสนิกชนชาวเบตง และชาวมาเลเซีย ต่างร่วมพิธีลากพระเพื่อสืบสานวัฒนธรรมโดยที่เรือพระจะลากจากบริเวณหน้าตลาดสดเทศบาลเมืองเบตง ไปยังสวนน้ำเทศบาลเมืองเบตง โดยมีขบวนแห่เรือพระในพื้นที่อำเภอเบตง ได้ร่วมกันจัดตกแต่งเรือพระ เนื่องในประเพณีชักพระ โดยขบวนแห่เรือพระจะไปตามถนนสายต่าง ๆ ในเขตเทศบาลเมืองเบตง ซึ่งมีพุทธศาสนิกชนทั้งชาวไทยและนักท่องเที่ยวจากประเทศมาเลเซีย ได้ร่วมลากเรือพระกันอย่างคึกคัก เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตัวเองและครอบครัว
โพนเป็นกลองชนิดหนึ่งใช้ตีเพื่อการสื่อสาร เป็นเครื่องดนตรีที่แสดงออกถึงวิถีชีวิตของคนภาคใต้ ยังมีประเพณีการตีโพนที่เกี่ยวช้องกับการดำเนินชีวิตอยู่ โพนเป็นการบรรเลงเดี่ยว การใช้โพนมีลักษณะดังนี้
- โพนตีบอกเวลา โดยปกติจะมีการใช้โพนในวัตสำหรับตีบอกเวลา
- คุมโพน คือการเล่นโพนประกอบในเรือชักพระในช่วงเทศกาลออกพรรษา มักจะตีล่วงหน้าก่อนถึงวันชักพระ เพื่อเป็นสัญญาณบอกให้ชาวบ้านทราบว่าวัดกำลังจัดกิจกรรม การชักพระตามประเพณีชาวบ้านจะช่วยกันทำเรือชักพระ และนำอาหารมาช่วย
- แข่งโพน คือการแข่งขันกันตีโพนในวันชักพระหลังจากลากเรือพระมาถึงจุดหมาย ในเวลากลางคืนจะมีการแข่งดีโพนว่าลูกไหนตีดัง
- หลักโพน คือการดีโพนโต้ตอบแข่งขันกันก่อนวันชักพระ โดยแข่งขันกันในเวลากลางคืนระหว่างวัดต่างๆ เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน ถ้าแพ้ต้องทำอาหารเลี้ยงฝ่ายชนะ
วันศุกร์ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2567
ประเพณีชักพระ อำเภอเบตง 2024#ชักพระ#เทศกาลออกพรรษา#ตักบาตรเทโวโรหณะ Beto...
ประเพณีชักพระเป็นประเพณีท้องถิ่นของชาวภาคใต้ ซึ่งเป็นประเพณีทำบุญในวันออกพรรษา(ซึ่งปีนี้ตรงกับวันขึ้น15 ค่ำเดือน11)ซึ่งเชื่อกันว่าเมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปจำพรรษา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อโปรดพระมารดา เมื่อครบพรรษาจึงเสด็จมายังโลกมนุษย์ พุทธศาสนิกชนจึงมารอรับเสด็จ แล้วอัญเชิญพระพุทธเจ้าขึ้นประทับบนบุษบกแล้วแห่ไปรอบเมือง
สำหรับการลากพระ หรือลากเรือพระออกจากวัดจะเต็มไปด้วยพุทธศาสนิกชนที่มาร่วมกันถือเชือกขนาดใหญ่ที่เป็นเครื่องมือสำหรับลากเรือพระ ที่ถูกประดับประดาอย่างสวยงามด้วยต้นไผ่ ต้นกล้วย มีการตีตะโพน และกังสดาล รวมทั้งลั่นระฆังไปตลอดทาง และมีการแจกจ่ายขนมออกพรรษา คือขนมต้ม และขนมลูกเห็ด ซึ่งเป็นขนมพื้นเมืองที่ใช้ในประเพณีนี้ ซึ่งผู้ที่ร่วมลากพระจะได้รับอานิสงส์บุญในช่วงออกพรรษาเป็นอย่างมาก
บรรยากาศประเพณีชักพระที่ อ.เบตง พุทธศาสนิกชนชาวเบตง และชาวมาเลเซีย ต่างร่วมพิธีลากพระเพื่อสืบสานวัฒนธรรมโดยที่เรือพระจะลากจากบริเวณหน้าตลาดสดเทศบาลเมืองเบตง ไปยังสวนน้ำเทศบาลเมืองเบตง โดยมีขบวนแห่เรือพระในพื้นที่อำเภอเบตง ได้ร่วมกันจัดตกแต่งเรือพระ เนื่องในประเพณีชักพระ โดยขบวนแห่เรือพระจะไปตามถนนสายต่าง ๆ ในเขตเทศบาลเมืองเบตง ซึ่งมีพุทธศาสนิกชนทั้งชาวไทยและนักท่องเที่ยวจากประเทศมาเลเซีย ได้ร่วมลากเรือพระกันอย่างคึกคัก เพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตัวเองและครอบครัว
วันอาทิตย์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2567
เทศกาลกินเจเบตง 2024#กินเจเบตง#กินเจ#ม้าทรง#แห่เจ้า#เสาโกเต็ง Betong Veg...
เทศบาลเมืองเบตงเตรียมจัดงานเทศกาลกินเจเบตง ภายใต้คอนเซ็ป “ซือจาย สบายใจ ที่เบตง” ระหว่างวันที่ 2-11 ต.ค.2567
นายสกุล เล็งลัคน์กุล นายกเทศมนตรีเมืองเบตง กล่าวว่า เทศกาลกินเจ เป็นหนึ่งในประเพณีที่มีความสำคัญต่อชาวไทยเชื้อสายจีน ซึ่งสืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษจากรุ่นต่อรุ่น โดยละเว้นการรับประทานเนื้อสัตว์ ผักที่มีกลิ่นแรง ผลิตภัณฑ์ที่ปรุงจากสัตว์ อาหารรสจัด อาหารปรุงแต่ง สุรา เพื่อสร้างบุญกุศลไม่เบียดเบียนสัตว์ทั้งหลายร่วมกับการถือศีลและปฏิบัติธรรม ได้สุขภาพกายดีร่างกายสมดุล สุขภาพใจก็ดีตามมา
เทศบาลเมืองเบตง จึงได้จัดงานเทศกาลกินเจเบตง ประจำปี 2567 ภายใต้คอนเซ็ป “ซือจาย สบายใจ ที่เบตง” ระหว่างวันที่ 2-11 ต.ค.67 ณ วัดกวนอิมเบตง และบริเวณหอนาฬิกา เทศบาลเมืองเบตง พร้อมร่วมสักการะเจ้าแม่กวนอิมและเทพเจ้าต่างๆ รับประทานอาหารเจ และพบกับพิธีกรรมต่างๆ ภายในงานพบกับพิธีกรรมต่างๆ อาทิ
-พิธีเชิญไฟศักดิ์สิทธิ์
-การแห่มังกร-สิงโต
-พิธีสักการะบูชาเทพเทวดาฯ
-พิธีขึ้นเสาโกเต็ง
-พิธีอาบน้ำร้อน
-พิธีเดินเวียนเทียนสะเดาะเคราะห์
-พิธีอาบนํ้ามันเดือด
-พิธีลุยหนามระกํา เจิมวัตถุมงคล
-พิธีเชิญเจ้าออกแห่รอบเมือง
-พิธีลุยกระเบื้องและพิธีลุยไฟ
วันพฤหัสบดีที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2567
เทศกาลกินเจเบตง ประจำปี 2024#พิธีลุยไฟศักดิ์สิทธิ์ Betong Vegetarian Fe...
เทศบาลเมืองเบตงเตรียมจัดงานเทศกาลกินเจเบตง ภายใต้คอนเซ็ป “ซือจาย สบายใจ ที่เบตง” ระหว่างวันที่ 2-11 ต.ค.2567
นายสกุล เล็งลัคน์กุล นายกเทศมนตรีเมืองเบตง กล่าวว่า เทศกาลกินเจ เป็นหนึ่งในประเพณีที่มีความสำคัญต่อชาวไทยเชื้อสายจีน ซึ่งสืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษจากรุ่นต่อรุ่น โดยละเว้นการรับประทานเนื้อสัตว์ ผักที่มีกลิ่นแรง ผลิตภัณฑ์ที่ปรุงจากสัตว์ อาหารรสจัด อาหารปรุงแต่ง สุรา เพื่อสร้างบุญกุศลไม่เบียดเบียนสัตว์ทั้งหลายร่วมกับการถือศีลและปฏิบัติธรรม ได้สุขภาพกายดีร่างกายสมดุล สุขภาพใจก็ดีตามมา
เทศบาลเมืองเบตง จึงได้จัดงานเทศกาลกินเจเบตง ประจำปี 2567 ภายใต้คอนเซ็ป “ซือจาย สบายใจ ที่เบตง” ระหว่างวันที่ 2-11 ต.ค.67 ณ วัดกวนอิมเบตง และบริเวณหอนาฬิกา เทศบาลเมืองเบตง พร้อมร่วมสักการะเจ้าแม่กวนอิมและเทพเจ้าต่างๆ รับประทานอาหารเจ และพบกับพิธีกรรมต่างๆ ภายในงานพบกับพิธีกรรมต่างๆ อาทิ
-พิธีเชิญไฟศักดิ์สิทธิ์
-การแห่มังกร-สิงโต
-พิธีสักการะบูชาเทพเทวดาฯ
-พิธีขึ้นเสาโกเต็ง
-พิธีอาบน้ำร้อน
-พิธีเดินเวียนเทียนสะเดาะเคราะห์
-พิธีอาบนํ้ามันเดือด
-พิธีลุยหนามระกํา เจิมวัตถุมงคล
-พิธีเชิญเจ้าออกแห่รอบเมือง
-พิธีลุยกระเบื้องและพิธีลุยไฟ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)