วันเสาร์ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

การแข่งขันกินผลไม้พื้นบ้านเบตง-เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง 2024


   เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง" ประจําปี 2567 และกิจกรรมสตรีทฟู้ดแอนด์อาร์ต วันที่ 26-30 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์เทศบาลเมืองเบตง สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดยะลาร่วมกับเทศบาลเมืองเบตง ได้ร่วมกันจัดขึ้น เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวในพื้นที่ รวมถึงประชาสัมพันธ์อาหารและผลไม้ และสินค้าของดีชายแดนใต้ พบกับกิจกรรมมากมายอาทิ
-การประกวดทุเรียน -การประกวดมังคุดในสายหมอก -Chef Table เมนูพิเศษจากทุเรียนเบตง -ตลาดนัดผลไม้และของดีเมืองเบตง -การแข่งขันกินผลไม้ -การแข่งขันตําผลไม้ลีลา -การแสดงจากศิลปินและการแสดงศิลปวัฒนธรรม -การแสดงวาดภาพ สตรีทอาร์ต -การแสดงบอลลูน เวลา 17.30-18.30 น. และ 20.30-21.30น. คืนวันที่ 26 กรกฎาคม 2567 พบกับ โดม ปกรณ์ ลัม คืนวันที่ 29 กรกฎาคม 2567 พบกับ อานัส คืนวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 พบกับ วงฟิน FIN การแข่งขันกินผลไม้ กติกาคือต้องกินมังคุด น้ำหนัก 1 กิโลกรัม เงาะ ครึ่งกิโลกรัม และทุเรียนพื้นบ้าน ครึ่งกิโลกรัม ให้หมดภายในระยะเวลา 10 นาที ซึ่งจะเลือกกินมังคุด หรือ เงาะ ก่อนก็ได้ แต่ทุเรียนต้องกินเป็นลำดับสุดท้าย ผู้เข้าร่วมแข่งขันคนไหนกินหมดก่อนจะเป็นผู้ชนะ ซึ่งผู้ชนะเลิศ จะได้รับเงินรางวัล 3,000 บาท รองชนะเลิศอันดับ1 รับเงินรางวัล 2,000 บาท รองชนะเลิศอันดับ2 รับเงิน รางวัล 1,000 บาท ผลการแข่งขันประเภทหญิง อันดับ1 นาง วอง ฟู หลิน นักท่องเที่ยวชาวมาเลเซีย ที่เดินทางมาจาก มะละกา อันดับ2 นาง ว่อง ชิว แย่ ซึ่งก็เป็นนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซีย อันดับ3 คือแชมป์เก่าเมื่อปีที่แล้ว คือ น.ส.พิรีภรณ์ ศรีสกุลกานต์ ชาวไทย ผลการแข่งขันประเภทชาย ผู้เข้าร่วมแข่งขันชาวไทยกวาดเรียบ อันดับ1 นายเรวัต คมขำ แชมป์เก่า ยังคงรักษาแชมป์ไว้ได้ อันดับ2 นายสิทธิชัย แซ่เล่า และอันดับ3 นายอามาน สะรี

การแสดงจากบำเพ็ญบุญ มูลนิธิ(กวางไส)เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง 2024


   เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง" ประจําปี 2567 และกิจกรรมสตรีทฟู้ดแอนด์อาร์ต วันที่ 26-30 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์เทศบาลเมืองเบตง สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดยะลาร่วมกับเทศบาลเมืองเบตง ได้ร่วมกันจัดขึ้น เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวในพื้นที่ รวมถึงประชาสัมพันธ์อาหารและผลไม้ และสินค้าของดีชายแดนใต้ พบกับกิจกรรมมากมายอาทิ
-การประกวดทุเรียน -การประกวดมังคุดในสายหมอก -Chef Table เมนูพิเศษจากทุเรียนเบตง -ตลาดนัดผลไม้และของดีเมืองเบตง -การแข่งขันกินผลไม้ -การแข่งขันตําผลไม้ลีลา -การแสดงจากศิลปินและการแสดงศิลปวัฒนธรรม -การแสดงวาดภาพ สตรีทอาร์ต -การแสดงบอลลูน เวลา 17.30-18.30 น. และ 20.30-21.30น. คืนวันที่ 26 กรกฎาคม 2567 พบกับ โดม ปกรณ์ ลัม คืนวันที่ 29 กรกฎาคม 2567 พบกับ อานัส คืนวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 พบกับ วงฟิน FIN ชมบรรยากาศภายในงานและพิธีเปิดเทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง มีนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างประเทศให้ความสนใจเป็นอย่างดี บรรยากาศท่องเที่ยวคึกคักมาก

วันศุกร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

บรรยากาศและพิธีเปิดงานเทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง 2024 Betong Fruit and...


   เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง" ประจําปี 2567 และกิจกรรมสตรีทฟู้ดแอนด์อาร์ต วันที่ 26-30 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์เทศบาลเมืองเบตง สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดยะลาร่วมกับเทศบาลเมืองเบตง ได้ร่วมกันจัดขึ้น เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวในพื้นที่ รวมถึงประชาสัมพันธ์อาหารและผลไม้ และสินค้าของดีชายแดนใต้ พบกับกิจกรรมมากมายอาทิ
-การประกวดทุเรียน -การประกวดมังคุดในสายหมอก -Chef Table เมนูพิเศษจากทุเรียนเบตง -ตลาดนัดผลไม้และของดีเมืองเบตง -การแข่งขันกินผลไม้ -การแข่งขันตําผลไม้ลีลา -การแสดงจากศิลปินและการแสดงศิลปวัฒนธรรม -การแสดงวาดภาพ สตรีทอาร์ต -การแสดงบอลลูน เวลา 17.30-18.30 น. และ 20.30-21.30น. คืนวันที่ 26 กรกฎาคม 2567 พบกับ โดม ปกรณ์ ลัม คืนวันที่ 29 กรกฎาคม 2567 พบกับ อานัส คืนวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 พบกับ วงฟิน FIN ชมบรรยากาศภายในงานและพิธีเปิดเทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง มีนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างประเทศให้ความสนใจเป็นอย่างดี บรรยากาศท่องเที่ยวคึกคักมาก

โดม ปกรณ์ ลัม-เพียงกระซิบ(cover)เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตงBetong Fruit...


   เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง" ประจําปี 2567 และกิจกรรมสตรีทฟู้ดแอนด์อาร์ต วันที่ 26-30 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์เทศบาลเมืองเบตง สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดยะลาร่วมกับเทศบาลเมืองเบตง ได้ร่วมกันจัดขึ้น เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวในพื้นที่ รวมถึงประชาสัมพันธ์อาหารและผลไม้ และสินค้าของดีชายแดนใต้ พบกับกิจกรรมมากมายอาทิ
-การประกวดทุเรียน -การประกวดมังคุดในสายหมอก -Chef Table เมนูพิเศษจากทุเรียนเบตง -ตลาดนัดผลไม้และของดีเมืองเบตง -การแข่งขันกินผลไม้ -การแข่งขันตําผลไม้ลีลา -การแสดงจากศิลปินและการแสดงศิลปวัฒนธรรม -การแสดงวาดภาพ สตรีทอาร์ต -การแสดงบอลลูน เวลา 17.30-18.30 น. และ 20.30-21.30น. คืนวันที่ 26 กรกฎาคม 2567 พบกับ โดม ปกรณ์ ลัม คืนวันที่ 29 กรกฎาคม 2567 พบกับ อานัส คืนวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 พบกับ วงฟิน FIN

โดม ปกรณ์ ลัม-จิ๊จ๊ะ(cover) เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตงBetong Fruit and...


   เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง" ประจําปี 2567 และกิจกรรมสตรีทฟู้ดแอนด์อาร์ต วันที่ 26-30 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์เทศบาลเมืองเบตง สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดยะลาร่วมกับเทศบาลเมืองเบตง ได้ร่วมกันจัดขึ้น เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวในพื้นที่ รวมถึงประชาสัมพันธ์อาหารและผลไม้ และสินค้าของดีชายแดนใต้ พบกับกิจกรรมมากมายอาทิ
-การประกวดทุเรียน -การประกวดมังคุดในสายหมอก -Chef Table เมนูพิเศษจากทุเรียนเบตง -ตลาดนัดผลไม้และของดีเมืองเบตง -การแข่งขันกินผลไม้ -การแข่งขันตําผลไม้ลีลา -การแสดงจากศิลปินและการแสดงศิลปวัฒนธรรม -การแสดงวาดภาพ สตรีทอาร์ต -การแสดงบอลลูน เวลา 17.30-18.30 น. และ 20.30-21.30น. คืนวันที่ 26 กรกฎาคม 2567 พบกับ โดม ปกรณ์ ลัม คืนวันที่ 29 กรกฎาคม 2567 พบกับ อานัส คืนวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 พบกับ วงฟิน FIN

วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

การแสดงลิเกฮูลู-คณะอาเนาะ บูลัน"เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง"Dikir ...


   ลิเกฮูลูหรือดีเกฮูลู เป็นการละเล่นขึ้นบทเป็นเพลงประกอบดนตรีและจังหวะตบมือ มีรากฐานเดิมมาจากคำว่า ลิเก คือการอ่านทำนองเสนาะ และคำว่า ฮูลู ซึ่งหมายถึง ทิศใต้ ซึ่งเมื่อรวมความแล้วคือ การขับกลอนเป็นทำนองเสนาะจากทิศใต้ บทกลอนที่ใช้ขับเรียกว่า ปันตน หรือ ปาตง ในภาษามลายูถิ่นปัตตานี
ลักษณะการแสดง ลิเกฮูลูคณะหนึ่ง ๆ จะมีประมาณ 10 คน เป็นชายล้วน มีต้นเสียง 1-3 คน ที่เหลือจะเป็นลูกคู่ เวทีลิเกฮูลู จะยกพื้นสูงประมาณ 1 เมตร เปิดโล่งไม่มีม่าน ไม่มีฉาก ลูกคู่ขึ้นไปนั่งล้อมวงร้องรับและตบมือโยกตัวให้เข้ากับจังหวะดนตรี ส่วนผู้ร้องหรือผู้โต้กลอนจะลุกขึ้นยื่นข้าง ๆ วงลูกคู่ ถ้ากรณีมีการประชันกัน แต่ละคณะจะขึ้นนั่งบนเวทีด้วยกัน แต่ล้อมวงแยกกันพอสมควร การแสดงที่ผลัดกันร้องทีละรอบทั้งรุกและรับเป็นที่ครึกครื้นสบอารมณ์ของผู้ชม ลิเกฮูลู เริ่มต้นด้วยการแสดงด้วยดนตรีที่ใช้โหมโรงเป็นการเรียกผู้ชม ต่อจากนั้นนักร้องออกมาร้องเพลงในจังหวะต่าง ๆ ทีละคน เนื้อร้องกล่าวถึงความประสงค์ในการเล่น แล้วจึงเริ่มแสดง ซึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวของเหตุการณ์บ้านเมือง ปัญหาท้องถิ่นหรือเรื่องตลกโปกฮา ผู้แสดงจะต้องใช้คารมและปฏิภาณ ให้ทั้งความรู้และความบันเทิงแก่ผู้ชม เครื่องดนตรีประกอบ เล่นลิเกฮูลู ประกอบด้วยรำมะนา อย่างน้อย ๒ ใบ ใช้ตีดำเนินจังหวะในการแสดง ฆ้องเป็นเครื่องกำกับจังหวะ ตีสม่ำเสมอประกอบการร้อง นอกจากนี้ยังมีเครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบและเป็นที่นิยมกันว่า ทำให้ครึกครื้น สนุกสนานไพเราะมากยิ่งขึ้น เช่น ขลุ่ย ลูกแซก แต่จังหวะที่ใช้เป็นประเพณีในการละเล่นคือ การตบมือ "เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 16-18 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์ สวนน้ำ เทศบาลเมืองเบตง อ.เบตง จ.ยะลา ภายในงานมีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น การแสดงศิลปะการต่อสู้ของไทยมุสลิมแบบโบราณ การเดินแบบผ้าพื้นถิ่นภายใต้แนวคิด "ยะลา หลาก หลาย"การแสดงวงดนตรีเยาวชน การสาธิตและจำหน่ายช่างฝีมือพื้นบ้าน การสาธิตและจำหน่ายอาหารโบราณ หาทานยาก การจัดนิทรรศการภาพเขียน-ภาพถ่าย เรื่องราววิถีชีวิตชุมชน การเสวนา "วิถีวัฒนธรรมชาวฮากกา" การเสวนา "งานหัตถศิลป์ชายแดนใต้ " การเสวนา "จิบกาแฟ แชร์เรื่องราว เล่าประวัติศาสตร์อเบตง" การสาธิตและจำหน่ายกาแฟท้องถิ่น เป็นต้น

การแสดงลิเกฮูลู-โรงเรียนบ้านมาลา "เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง" Di...


   ลิเกฮูลูหรือดีเกฮูลู เป็นการละเล่นขึ้นบทเป็นเพลงประกอบดนตรีและจังหวะตบมือ มีรากฐานเดิมมาจากคำว่า ลิเก คือการอ่านทำนองเสนาะ และคำว่า ฮูลู ซึ่งหมายถึง ทิศใต้ ซึ่งเมื่อรวมความแล้วคือ การขับกลอนเป็นทำนองเสนาะจากทิศใต้ บทกลอนที่ใช้ขับเรียกว่า ปันตน หรือ ปาตง ในภาษามลายูถิ่นปัตตานี
ลักษณะการแสดง ลิเกฮูลูคณะหนึ่ง ๆ จะมีประมาณ 10 คน เป็นชายล้วน มีต้นเสียง 1-3 คน ที่เหลือจะเป็นลูกคู่ เวทีลิเกฮูลู จะยกพื้นสูงประมาณ 1 เมตร เปิดโล่งไม่มีม่าน ไม่มีฉาก ลูกคู่ขึ้นไปนั่งล้อมวงร้องรับและตบมือโยกตัวให้เข้ากับจังหวะดนตรี ส่วนผู้ร้องหรือผู้โต้กลอนจะลุกขึ้นยื่นข้าง ๆ วงลูกคู่ ถ้ากรณีมีการประชันกัน แต่ละคณะจะขึ้นนั่งบนเวทีด้วยกัน แต่ล้อมวงแยกกันพอสมควร การแสดงที่ผลัดกันร้องทีละรอบทั้งรุกและรับเป็นที่ครึกครื้นสบอารมณ์ของผู้ชม ลิเกฮูลู เริ่มต้นด้วยการแสดงด้วยดนตรีที่ใช้โหมโรงเป็นการเรียกผู้ชม ต่อจากนั้นนักร้องออกมาร้องเพลงในจังหวะต่าง ๆ ทีละคน เนื้อร้องกล่าวถึงความประสงค์ในการเล่น แล้วจึงเริ่มแสดง ซึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวของเหตุการณ์บ้านเมือง ปัญหาท้องถิ่นหรือเรื่องตลกโปกฮา ผู้แสดงจะต้องใช้คารมและปฏิภาณ ให้ทั้งความรู้และความบันเทิงแก่ผู้ชม เครื่องดนตรีประกอบ เล่นลิเกฮูลู ประกอบด้วยรำมะนา อย่างน้อย ๒ ใบ ใช้ตีดำเนินจังหวะในการแสดง ฆ้องเป็นเครื่องกำกับจังหวะ ตีสม่ำเสมอประกอบการร้อง นอกจากนี้ยังมีเครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบและเป็นที่นิยมกันว่า ทำให้ครึกครื้น สนุกสนานไพเราะมากยิ่งขึ้น เช่น ขลุ่ย ลูกแซก แต่จังหวะที่ใช้เป็นประเพณีในการละเล่นคือ การตบมือ "เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 16-18 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์ สวนน้ำ เทศบาลเมืองเบตง อ.เบตง จ.ยะลา ภายในงานมีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น การแสดงศิลปะการต่อสู้ของไทยมุสลิมแบบโบราณ การเดินแบบผ้าพื้นถิ่นภายใต้แนวคิด "ยะลา หลาก หลาย"การแสดงวงดนตรีเยาวชน การสาธิตและจำหน่ายช่างฝีมือพื้นบ้าน การสาธิตและจำหน่ายอาหารโบราณ หาทานยาก การจัดนิทรรศการภาพเขียน-ภาพถ่าย เรื่องราววิถีชีวิตชุมชน การเสวนา "วิถีวัฒนธรรมชาวฮากกา" การเสวนา "งานหัตถศิลป์ชายแดนใต้ " การเสวนา "จิบกาแฟ แชร์เรื่องราว เล่าประวัติศาสตร์อเบตง" การสาธิตและจำหน่ายกาแฟท้องถิ่น เป็นต้น