วันเสาร์ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

การแสดงจากบำเพ็ญบุญ มูลนิธิ(กวางไส)เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง 2024


   เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง" ประจําปี 2567 และกิจกรรมสตรีทฟู้ดแอนด์อาร์ต วันที่ 26-30 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์เทศบาลเมืองเบตง สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดยะลาร่วมกับเทศบาลเมืองเบตง ได้ร่วมกันจัดขึ้น เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวในพื้นที่ รวมถึงประชาสัมพันธ์อาหารและผลไม้ และสินค้าของดีชายแดนใต้ พบกับกิจกรรมมากมายอาทิ
-การประกวดทุเรียน -การประกวดมังคุดในสายหมอก -Chef Table เมนูพิเศษจากทุเรียนเบตง -ตลาดนัดผลไม้และของดีเมืองเบตง -การแข่งขันกินผลไม้ -การแข่งขันตําผลไม้ลีลา -การแสดงจากศิลปินและการแสดงศิลปวัฒนธรรม -การแสดงวาดภาพ สตรีทอาร์ต -การแสดงบอลลูน เวลา 17.30-18.30 น. และ 20.30-21.30น. คืนวันที่ 26 กรกฎาคม 2567 พบกับ โดม ปกรณ์ ลัม คืนวันที่ 29 กรกฎาคม 2567 พบกับ อานัส คืนวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 พบกับ วงฟิน FIN ชมบรรยากาศภายในงานและพิธีเปิดเทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง มีนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างประเทศให้ความสนใจเป็นอย่างดี บรรยากาศท่องเที่ยวคึกคักมาก

วันศุกร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

บรรยากาศและพิธีเปิดงานเทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง 2024 Betong Fruit and...


   เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง" ประจําปี 2567 และกิจกรรมสตรีทฟู้ดแอนด์อาร์ต วันที่ 26-30 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์เทศบาลเมืองเบตง สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดยะลาร่วมกับเทศบาลเมืองเบตง ได้ร่วมกันจัดขึ้น เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวในพื้นที่ รวมถึงประชาสัมพันธ์อาหารและผลไม้ และสินค้าของดีชายแดนใต้ พบกับกิจกรรมมากมายอาทิ
-การประกวดทุเรียน -การประกวดมังคุดในสายหมอก -Chef Table เมนูพิเศษจากทุเรียนเบตง -ตลาดนัดผลไม้และของดีเมืองเบตง -การแข่งขันกินผลไม้ -การแข่งขันตําผลไม้ลีลา -การแสดงจากศิลปินและการแสดงศิลปวัฒนธรรม -การแสดงวาดภาพ สตรีทอาร์ต -การแสดงบอลลูน เวลา 17.30-18.30 น. และ 20.30-21.30น. คืนวันที่ 26 กรกฎาคม 2567 พบกับ โดม ปกรณ์ ลัม คืนวันที่ 29 กรกฎาคม 2567 พบกับ อานัส คืนวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 พบกับ วงฟิน FIN ชมบรรยากาศภายในงานและพิธีเปิดเทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง มีนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างประเทศให้ความสนใจเป็นอย่างดี บรรยากาศท่องเที่ยวคึกคักมาก

โดม ปกรณ์ ลัม-เพียงกระซิบ(cover)เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตงBetong Fruit...


   เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง" ประจําปี 2567 และกิจกรรมสตรีทฟู้ดแอนด์อาร์ต วันที่ 26-30 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์เทศบาลเมืองเบตง สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดยะลาร่วมกับเทศบาลเมืองเบตง ได้ร่วมกันจัดขึ้น เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวในพื้นที่ รวมถึงประชาสัมพันธ์อาหารและผลไม้ และสินค้าของดีชายแดนใต้ พบกับกิจกรรมมากมายอาทิ
-การประกวดทุเรียน -การประกวดมังคุดในสายหมอก -Chef Table เมนูพิเศษจากทุเรียนเบตง -ตลาดนัดผลไม้และของดีเมืองเบตง -การแข่งขันกินผลไม้ -การแข่งขันตําผลไม้ลีลา -การแสดงจากศิลปินและการแสดงศิลปวัฒนธรรม -การแสดงวาดภาพ สตรีทอาร์ต -การแสดงบอลลูน เวลา 17.30-18.30 น. และ 20.30-21.30น. คืนวันที่ 26 กรกฎาคม 2567 พบกับ โดม ปกรณ์ ลัม คืนวันที่ 29 กรกฎาคม 2567 พบกับ อานัส คืนวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 พบกับ วงฟิน FIN

โดม ปกรณ์ ลัม-จิ๊จ๊ะ(cover) เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตงBetong Fruit and...


   เทศกาลผลไม้และของดีเมืองเบตง" ประจําปี 2567 และกิจกรรมสตรีทฟู้ดแอนด์อาร์ต วันที่ 26-30 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์เทศบาลเมืองเบตง สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดยะลาร่วมกับเทศบาลเมืองเบตง ได้ร่วมกันจัดขึ้น เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวในพื้นที่ รวมถึงประชาสัมพันธ์อาหารและผลไม้ และสินค้าของดีชายแดนใต้ พบกับกิจกรรมมากมายอาทิ
-การประกวดทุเรียน -การประกวดมังคุดในสายหมอก -Chef Table เมนูพิเศษจากทุเรียนเบตง -ตลาดนัดผลไม้และของดีเมืองเบตง -การแข่งขันกินผลไม้ -การแข่งขันตําผลไม้ลีลา -การแสดงจากศิลปินและการแสดงศิลปวัฒนธรรม -การแสดงวาดภาพ สตรีทอาร์ต -การแสดงบอลลูน เวลา 17.30-18.30 น. และ 20.30-21.30น. คืนวันที่ 26 กรกฎาคม 2567 พบกับ โดม ปกรณ์ ลัม คืนวันที่ 29 กรกฎาคม 2567 พบกับ อานัส คืนวันที่ 30 กรกฎาคม 2567 พบกับ วงฟิน FIN

วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

การแสดงลิเกฮูลู-คณะอาเนาะ บูลัน"เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง"Dikir ...


   ลิเกฮูลูหรือดีเกฮูลู เป็นการละเล่นขึ้นบทเป็นเพลงประกอบดนตรีและจังหวะตบมือ มีรากฐานเดิมมาจากคำว่า ลิเก คือการอ่านทำนองเสนาะ และคำว่า ฮูลู ซึ่งหมายถึง ทิศใต้ ซึ่งเมื่อรวมความแล้วคือ การขับกลอนเป็นทำนองเสนาะจากทิศใต้ บทกลอนที่ใช้ขับเรียกว่า ปันตน หรือ ปาตง ในภาษามลายูถิ่นปัตตานี
ลักษณะการแสดง ลิเกฮูลูคณะหนึ่ง ๆ จะมีประมาณ 10 คน เป็นชายล้วน มีต้นเสียง 1-3 คน ที่เหลือจะเป็นลูกคู่ เวทีลิเกฮูลู จะยกพื้นสูงประมาณ 1 เมตร เปิดโล่งไม่มีม่าน ไม่มีฉาก ลูกคู่ขึ้นไปนั่งล้อมวงร้องรับและตบมือโยกตัวให้เข้ากับจังหวะดนตรี ส่วนผู้ร้องหรือผู้โต้กลอนจะลุกขึ้นยื่นข้าง ๆ วงลูกคู่ ถ้ากรณีมีการประชันกัน แต่ละคณะจะขึ้นนั่งบนเวทีด้วยกัน แต่ล้อมวงแยกกันพอสมควร การแสดงที่ผลัดกันร้องทีละรอบทั้งรุกและรับเป็นที่ครึกครื้นสบอารมณ์ของผู้ชม ลิเกฮูลู เริ่มต้นด้วยการแสดงด้วยดนตรีที่ใช้โหมโรงเป็นการเรียกผู้ชม ต่อจากนั้นนักร้องออกมาร้องเพลงในจังหวะต่าง ๆ ทีละคน เนื้อร้องกล่าวถึงความประสงค์ในการเล่น แล้วจึงเริ่มแสดง ซึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวของเหตุการณ์บ้านเมือง ปัญหาท้องถิ่นหรือเรื่องตลกโปกฮา ผู้แสดงจะต้องใช้คารมและปฏิภาณ ให้ทั้งความรู้และความบันเทิงแก่ผู้ชม เครื่องดนตรีประกอบ เล่นลิเกฮูลู ประกอบด้วยรำมะนา อย่างน้อย ๒ ใบ ใช้ตีดำเนินจังหวะในการแสดง ฆ้องเป็นเครื่องกำกับจังหวะ ตีสม่ำเสมอประกอบการร้อง นอกจากนี้ยังมีเครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบและเป็นที่นิยมกันว่า ทำให้ครึกครื้น สนุกสนานไพเราะมากยิ่งขึ้น เช่น ขลุ่ย ลูกแซก แต่จังหวะที่ใช้เป็นประเพณีในการละเล่นคือ การตบมือ "เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 16-18 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์ สวนน้ำ เทศบาลเมืองเบตง อ.เบตง จ.ยะลา ภายในงานมีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น การแสดงศิลปะการต่อสู้ของไทยมุสลิมแบบโบราณ การเดินแบบผ้าพื้นถิ่นภายใต้แนวคิด "ยะลา หลาก หลาย"การแสดงวงดนตรีเยาวชน การสาธิตและจำหน่ายช่างฝีมือพื้นบ้าน การสาธิตและจำหน่ายอาหารโบราณ หาทานยาก การจัดนิทรรศการภาพเขียน-ภาพถ่าย เรื่องราววิถีชีวิตชุมชน การเสวนา "วิถีวัฒนธรรมชาวฮากกา" การเสวนา "งานหัตถศิลป์ชายแดนใต้ " การเสวนา "จิบกาแฟ แชร์เรื่องราว เล่าประวัติศาสตร์อเบตง" การสาธิตและจำหน่ายกาแฟท้องถิ่น เป็นต้น

การแสดงลิเกฮูลู-โรงเรียนบ้านมาลา "เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง" Di...


   ลิเกฮูลูหรือดีเกฮูลู เป็นการละเล่นขึ้นบทเป็นเพลงประกอบดนตรีและจังหวะตบมือ มีรากฐานเดิมมาจากคำว่า ลิเก คือการอ่านทำนองเสนาะ และคำว่า ฮูลู ซึ่งหมายถึง ทิศใต้ ซึ่งเมื่อรวมความแล้วคือ การขับกลอนเป็นทำนองเสนาะจากทิศใต้ บทกลอนที่ใช้ขับเรียกว่า ปันตน หรือ ปาตง ในภาษามลายูถิ่นปัตตานี
ลักษณะการแสดง ลิเกฮูลูคณะหนึ่ง ๆ จะมีประมาณ 10 คน เป็นชายล้วน มีต้นเสียง 1-3 คน ที่เหลือจะเป็นลูกคู่ เวทีลิเกฮูลู จะยกพื้นสูงประมาณ 1 เมตร เปิดโล่งไม่มีม่าน ไม่มีฉาก ลูกคู่ขึ้นไปนั่งล้อมวงร้องรับและตบมือโยกตัวให้เข้ากับจังหวะดนตรี ส่วนผู้ร้องหรือผู้โต้กลอนจะลุกขึ้นยื่นข้าง ๆ วงลูกคู่ ถ้ากรณีมีการประชันกัน แต่ละคณะจะขึ้นนั่งบนเวทีด้วยกัน แต่ล้อมวงแยกกันพอสมควร การแสดงที่ผลัดกันร้องทีละรอบทั้งรุกและรับเป็นที่ครึกครื้นสบอารมณ์ของผู้ชม ลิเกฮูลู เริ่มต้นด้วยการแสดงด้วยดนตรีที่ใช้โหมโรงเป็นการเรียกผู้ชม ต่อจากนั้นนักร้องออกมาร้องเพลงในจังหวะต่าง ๆ ทีละคน เนื้อร้องกล่าวถึงความประสงค์ในการเล่น แล้วจึงเริ่มแสดง ซึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวของเหตุการณ์บ้านเมือง ปัญหาท้องถิ่นหรือเรื่องตลกโปกฮา ผู้แสดงจะต้องใช้คารมและปฏิภาณ ให้ทั้งความรู้และความบันเทิงแก่ผู้ชม เครื่องดนตรีประกอบ เล่นลิเกฮูลู ประกอบด้วยรำมะนา อย่างน้อย ๒ ใบ ใช้ตีดำเนินจังหวะในการแสดง ฆ้องเป็นเครื่องกำกับจังหวะ ตีสม่ำเสมอประกอบการร้อง นอกจากนี้ยังมีเครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบและเป็นที่นิยมกันว่า ทำให้ครึกครื้น สนุกสนานไพเราะมากยิ่งขึ้น เช่น ขลุ่ย ลูกแซก แต่จังหวะที่ใช้เป็นประเพณีในการละเล่นคือ การตบมือ "เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 16-18 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์ สวนน้ำ เทศบาลเมืองเบตง อ.เบตง จ.ยะลา ภายในงานมีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น การแสดงศิลปะการต่อสู้ของไทยมุสลิมแบบโบราณ การเดินแบบผ้าพื้นถิ่นภายใต้แนวคิด "ยะลา หลาก หลาย"การแสดงวงดนตรีเยาวชน การสาธิตและจำหน่ายช่างฝีมือพื้นบ้าน การสาธิตและจำหน่ายอาหารโบราณ หาทานยาก การจัดนิทรรศการภาพเขียน-ภาพถ่าย เรื่องราววิถีชีวิตชุมชน การเสวนา "วิถีวัฒนธรรมชาวฮากกา" การเสวนา "งานหัตถศิลป์ชายแดนใต้ " การเสวนา "จิบกาแฟ แชร์เรื่องราว เล่าประวัติศาสตร์อเบตง" การสาธิตและจำหน่ายกาแฟท้องถิ่น เป็นต้น

วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2567

ลิเกฮูลู-คณะผอ.ยูนุห์ ตุยง"เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง"Festival co...


   ลิเกฮูลูหรือดีเกฮูลู เป็นการละเล่นขึ้นบทเป็นเพลงประกอบดนตรีและจังหวะตบมือ มีรากฐานเดิมมาจากคำว่า ลิเก คือการอ่านทำนองเสนาะ และคำว่า ฮูลู ซึ่งหมายถึง ทิศใต้ ซึ่งเมื่อรวมความแล้วคือ การขับกลอนเป็นทำนองเสนาะจากทิศใต้ บทกลอนที่ใช้ขับเรียกว่า ปันตน หรือ ปาตง ในภาษามลายูถิ่นปัตตานี
ลักษณะการแสดง ลิเกฮูลูคณะหนึ่ง ๆ จะมีประมาณ 10 คน เป็นชายล้วน มีต้นเสียง 1-3 คน ที่เหลือจะเป็นลูกคู่ เวทีลิเกฮูลู จะยกพื้นสูงประมาณ 1 เมตร เปิดโล่งไม่มีม่าน ไม่มีฉาก ลูกคู่ขึ้นไปนั่งล้อมวงร้องรับและตบมือโยกตัวให้เข้ากับจังหวะดนตรี ส่วนผู้ร้องหรือผู้โต้กลอนจะลุกขึ้นยื่นข้าง ๆ วงลูกคู่ ถ้ากรณีมีการประชันกัน แต่ละคณะจะขึ้นนั่งบนเวทีด้วยกัน แต่ล้อมวงแยกกันพอสมควร การแสดงที่ผลัดกันร้องทีละรอบทั้งรุกและรับเป็นที่ครึกครื้นสบอารมณ์ของผู้ชม ลิเกฮูลู เริ่มต้นด้วยการแสดงด้วยดนตรีที่ใช้โหมโรงเป็นการเรียกผู้ชม ต่อจากนั้นนักร้องออกมาร้องเพลงในจังหวะต่าง ๆ ทีละคน เนื้อร้องกล่าวถึงความประสงค์ในการเล่น แล้วจึงเริ่มแสดง ซึ่งอาจจะเป็นเรื่องราวของเหตุการณ์บ้านเมือง ปัญหาท้องถิ่นหรือเรื่องตลกโปกฮา ผู้แสดงจะต้องใช้คารมและปฏิภาณ ให้ทั้งความรู้และความบันเทิงแก่ผู้ชม เครื่องดนตรีประกอบ เล่นลิเกฮูลู ประกอบด้วยรำมะนา อย่างน้อย ๒ ใบ ใช้ตีดำเนินจังหวะในการแสดง ฆ้องเป็นเครื่องกำกับจังหวะ ตีสม่ำเสมอประกอบการร้อง นอกจากนี้ยังมีเครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบและเป็นที่นิยมกันว่า ทำให้ครึกครื้น สนุกสนานไพเราะมากยิ่งขึ้น เช่น ขลุ่ย ลูกแซก แต่จังหวะที่ใช้เป็นประเพณีในการละเล่นคือ การตบมือ "เทศกาลฟื้นย่านชุมชนโบราณเมืองเบตง" จัดขึ้นระหว่างวันที่ 16-18 กรกฎาคม 2567 ณ ลานวัฒนธรรมสัมพันธ์ สวนน้ำ เทศบาลเมืองเบตง อ.เบตง จ.ยะลา ภายในงานมีการแสดงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น การแสดงศิลปะการต่อสู้ของไทยมุสลิมแบบโบราณ การเดินแบบผ้าพื้นถิ่นภายใต้แนวคิด "ยะลา หลาก หลาย"การแสดงวงดนตรีเยาวชน การสาธิตและจำหน่ายช่างฝีมือพื้นบ้าน การสาธิตและจำหน่ายอาหารโบราณ หาทานยาก การจัดนิทรรศการภาพเขียน-ภาพถ่าย เรื่องราววิถีชีวิตชุมชน การเสวนา "วิถีวัฒนธรรมชาวฮากกา" การเสวนา "งานหัตถศิลป์ชายแดนใต้ " การเสวนา "จิบกาแฟ แชร์เรื่องราว เล่าประวัติศาสตร์อเบตง" การสาธิตและจำหน่ายกาแฟท้องถิ่น เป็นต้น