เพลงบันไดสีแดง-วง Horison (cover) งานA-WALK AWAKE @ เบตง by ร้านเด็ดแฟร์ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 23-29 ตุลาคม 2566 ณ.หอนาฬิกา อำเภอเบตง จังหวัดยะลา สโลแกนเดินปลุกเมืองเบตง ด้วยไอเดียสุดสร้างสรรค์
STREET ART BETONG แชะ!ภาพวาดสามมิติ บนผนังทั่วเมืองเบตง
STREET FOOD BETONG ชิม อาหารเด็ด ของอร่อยต้องลอง
STREET SHOW BETONG ชมโชว์ ศิลปวัฒนธรรมประยกต์ และศิลปินชื่อดัง
สาระ บันเทิง การท่องเที่ยว กิจกรรมทั่วไปเกี่ยวกับเรื่องรอบตัวเรา และเกล็ดเล็กเกล็ดน้อยของเมืองเบตง สถานที่ต่างๆที่เคยไปมา อาหารการกินของคนท้องถิ่น เผยแพร่เรื่องราวต่างๆในมุมมองของชีวิตผ่านสายตาของท่านผู้ชมทุกคน กับเรื่องราวต่างๆที่ได้ถ่ายทอดออกมาซึ่งอาจมีประโยชน์ด้านข่าวสารและเป็นประสบการณ์ความทรงจำของชีวิตเรา
วันเสาร์ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566
วันศุกร์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566
หลอก-วง jojo joy (cover)A-WALK AWAKE @ เบตง by ร้านเด็ดแฟร์
เพลงหลอก-วง jojo joy (cover) งานA-WALK AWAKE @ เบตง by ร้านเด็ดแฟร์ จัดขึ้นระหว่างวันที่ 23-29 ตุลาคม 2566 ณ.หอนาฬิกา อำเภอเบตง จังหวัดยะลา สโลแกนเดินปลุกเมืองเบตง ด้วยไอเดียสุดสร้างสรรค์
STREET ART BETONG แชะ!ภาพวาดสามมิติ บนผนังทั่วเมืองเบตง
STREET FOOD BETONG ชิม อาหารเด็ด ของอร่อยต้องลอง
STREET SHOW BETONG ชมโชว์ ศิลปวัฒนธรรมประยกต์ และศิลปินชื่อดัง
วันพฤหัสบดีที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566
การแข่งขันกินต้ม ประเพณีชักพระ 2 แผ่นดิน ไทย-มาเลเซีย(ชักพระเบตง)ประจำปี...
วันนี้ (30 ต.ค.66) ที่บริเวณหน้าตลาดสดเทศบาลเมืองเบตง นายสกุล เล็งลัคน์กุล นายกเทศมนตรีเมืองเบตง เป็นประธานพิธีสมโภชเรือพระ ประจำปี 2566 ตามโครงการอนุรักษ์สืบสานและเรียนรู้วัฒนธรรมออกพรรษา โดยมีเรือพระจากวัดต่าง ๆ ในพื้นที่ เคลื่อนขบวนเรือพระ ร่วมในงานอย่างยิ่งใหญ่ เพื่อส่งเสริมอนุรักษ์ประเพณีทางพุทธศาสนา สืบสานมรดกทางวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามให้ดำรงสืบไป และเพื่อปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมแก่เด็ก เยาวชน และประชาชนให้ประพฤติปฏิบัติตนตามแนวทางของพุทธศาสนิกชนที่ดี ได้รู้สึกหวงแหนและตระหนักในคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้เป็นที่รู้จักทั้งแก่ชาวไทยและชาวต่างชาติ โดยมีส่วนราชการ และชาวเบตงและนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซีย ร่วมชมความงดงามวิจิตรตระการตาของขบวนเรือพระอย่างเนืองแน่น ท่ามกลางการรักษาความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่ตำรวจ และฝ่ายปกครอง ที่ดูแลอย่างเข้มงวด
สำหรับประเพณีลากพระหรือชักพระ เป็นประเพณีสำคัญที่ถือเป็นเอกลักษณ์ท้องถิ่นของภาคใต้ที่ปฏิบัติกันมาแต่โบราณในเทศกาลออกพรรษา ตั้งแต่สมัยศรีวิชัยประเพณีชักพระเป็นประเพณีที่พราหมณ์ศาสนิกชนและพุทธศาสนิกชนปฏิบัติสืบต่อกันมา สันนิษฐานว่าประเพณีนี้เกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศอินเดีย ที่นิยมเอาเทวรูปออกแห่ในโอกาสต่าง ๆ ต่อมาพุทธศาสนิกชนได้นำเอาคติความเชื่อดังกล่าว มาปรับปรุงให้สอดคล้องกับความเชื่อทางพุทธศาสนา จนกลายเป็นประเพณีที่สืบทอดมาจนปัจจุบัน
ประเพณีชักพระเป็นประเพณีทางพระพุทธศาสนาที่สำคัญของภาคใต้ เป็นประเพณีที่มีการอัญเชิญพระพุทธรูปออกแห่รอบเมืองในวันหลังออกพรรษา ถือเป็นการจำลองเหตุการณ์ครั้งที่พระพุทธเจ้าเสด็จกลับจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ อำเภอเบตงได้กำหนดจัดงานประเพณีชักพระ 2 แผ่นดิน ไทย-มาเลเซีย เพื่อสืบสานอนุรักษ์ประเพณีชักพระ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมภาคประชาชนและกระชับความสัมพันธ์อันดีระหว่างพุทธศาสนิกชนในประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย รวมทั้งส่งเสริมเศรษฐกิจและกระตุ้นการท่องเที่ยวในพื้นที่
สำหรับกิจกรรมภายในงาน พบกับขบวนแห่เรือพระ , การแข่งขันพายเรือกะละมัง , การแข่งขันชกมวยตับจาก , การแข่งขันชกมวยทะเล , การแข่งขันกินต้ม, การจำหน่ายสินค้าอาหารผลิตภัณฑ์ชุมชน และการแสดงทางวัฒนธรรมและการแสดงดนตรี
วันพุธที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566
สุดฮา เชียร์สุดมัน มวยตับจาก#1(คู่ชิง)ประเพณีชักพระ 2 แผ่นดิน ไทย-มาเลย์...
กีฬาพื้นบ้านที่เรียกเสียงหัวเราะและรอยยิ้ม มวยตับจากเป็นกีฬาพื้นบ้านยอดนิยมของภาคตะวันออก ในอดีตมีต้นจากขึ้นอยู่มากมายตามแหล่งน้ำ จึงนิยมนำใบจากมาเย็บเป็นตับเพื่อมุงหลังคาบ้าน จากนั้นนำมาประยุกต์กับการต่อยมวยโดยใช้ตับจากแห้งปูพื้นเวลาเหยียบจะเกิดเสียงดัง ในการชกมวยตับจากนั้นนักมวยทั้งสองฝ่ายต้องปิดตาทั้งสองข้างให้สนิท อาศัยฟังเสียงจากการเหยียบตับจากแห้งเพื่อหาทิศทางของคู่ต่อสู้ เน้นความสนุกสนานมากกว่าที่จะรู้ผลแพ้ชนะ ในปัจจุบันความนิยมในการใช้ตับจากมุงหลังคาลดลง ตับจากจึงหายากขึ้น จึงใช้ใบไม้แห้งอื่นๆ มาแทน เช่น ใบมะพร้าวแห้ง ใบตาลแห้ง หรือใบหูกวางแห้ง ซึ่งยังคงความสนุกสนานได้เหมือนเดิม เป็นสีสันงานประเพณีชักพระ 2 แผ่นดินไทย-มาเลเซียหรือประเพณีชักพระเบตง ประจำปี 2023
สุดฮา เชียร์สุดมัน มวยตับจาก#7 ประเพณีชักพระ 2 แผ่นดิน ไทย-มาเลย์เซีย(ชั...
กีฬาพื้นบ้านที่เรียกเสียงหัวเราะและรอยยิ้ม มวยตับจากเป็นกีฬาพื้นบ้านยอดนิยมของภาคตะวันออก ในอดีตมีต้นจากขึ้นอยู่มากมายตามแหล่งน้ำ จึงนิยมนำใบจากมาเย็บเป็นตับเพื่อมุงหลังคาบ้าน จากนั้นนำมาประยุกต์กับการต่อยมวยโดยใช้ตับจากแห้งปูพื้นเวลาเหยียบจะเกิดเสียงดัง ในการชกมวยตับจากนั้นนักมวยทั้งสองฝ่ายต้องปิดตาทั้งสองข้างให้สนิท อาศัยฟังเสียงจากการเหยียบตับจากแห้งเพื่อหาทิศทางของคู่ต่อสู้ เน้นความสนุกสนานมากกว่าที่จะรู้ผลแพ้ชนะ ในปัจจุบันความนิยมในการใช้ตับจากมุงหลังคาลดลง ตับจากจึงหายากขึ้น จึงใช้ใบไม้แห้งอื่นๆ มาแทน เช่น ใบมะพร้าวแห้ง ใบตาลแห้ง หรือใบหูกวางแห้ง ซึ่งยังคงความสนุกสนานได้เหมือนเดิม เป็นสีสันงานประเพณีชักพระ 2 แผ่นดินไทย-มาเลเซียหรือประเพณีชักพระเบตง ประจำปี 2023
สุดฮา เชียร์สุดมัน มวยตับจาก#6 ประเพณีชักพระ 2 แผ่นดิน ไทย-มาเลย์เซีย(ชั...
สุดฮา เชียร์สุดมัน มวยตับจาก#5 ประเพณีชักพระ 2 แผ่นดิน ไทย-มาเลย์เซีย(ชั...
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)